Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาระงับปวด ลดไข้ ต้านการอักเสบ สารน้ำและสารอาหารทางหลอดเลือดดำ - Coggle…
ยาระงับปวด ลดไข้ ต้านการอักเสบ สารน้ำและสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
สารน้ำ
ให้เพื่อแก้ไขน้ำที่สูญเสียไป หรือเพื่อควบคุมภาวะที่สูญเสียเลือดเนื่องจากโรคหรืออุบัติเหตุ
สารน้ำที่ช่วยแก้ไขภาวะไม่สมดุลของน้ำ electrolyte = Dextrose
ใช้รักษาผู้ป่วยที่มีน้ำตาลในเลือดต่ำ หรือ ให้เพื่อทดแทนแคลอรี่เป็นน้ำตาลตามธรรมชาติที่อยู่ในอาหารและถูกเผาผลาญเป็นคาร์โบไฮเดรทต่อไปได้ผลลัพธ์สุดท้ายคือให้พลังงานกับเซลล์ได้
สารน้ำเพื่อเพิ่ม plasma volume = Dextran
สารน้ำเพื่อเพิ่ม plasma volume ใช้สำหรับภาวะช็อคเพิ่มการไหลเวียนเลือด ให้ทดแทนการให้เลือดขณะรอเลือดจากการผ่าตัด อุบัติเหตุBurn และเสียเลือด
สารน้ำให้เพื่อทดแทน Potassium = Potassium chloride
บทบาทพยาบาล/การติดตาม
-เมื่อให้ยาใน 5 นาทีแรก ต้องดูแลอย่างใกล้ชิด
-จับชีพจรเพื่อดูการเต้นผิดจังหวะของหัวใจ
-ตรวจสอบอัตราการไหลของสารน้า ที่มี KCI อยู่อย่างสม่ำเสมอ
-สอบถามการเจ็บที่หลอดเลือด เนื่องจากการผสมเข้มข้นมากอาจระคายเคืองหลอดเลือด และมีอาการปวดแสบปวดร้อนตรงบริเวณที่ฉีด
-ติดตามผล lab ตามแพทย์สั่ง
สารอาหารทางหลอดเลือดดำ(Parenteral Nutrition)
การให้อาหารทางหลอดเลือดดำแบบบางส่วน - เป็นวิธีให้สารอาหารเสริมในผู้ป่วยที่ได้อาหารทางปากหรือทางสายอาหารอยู่แล้วแต่ไม่เพียงพอ
การให้อาหารทางหลอดเลือดดำแบบสมบูรณ์ – เป็นวิธีให้สารอาหารที่ครบถ้วนตามที่ร่างกายต้องการเมื่อผู้ป่วยได้อาหารทางหลอดเลือดดำเท่านั้น
ข้อบ่งชี้ในการใช้อาหารทางหลอดเลือดดำ
-ต้องการให้ระบบทางเดินอาหารได้พัก (bowel rest) เช่น Severe Pancreatitis
-ผู้ป่วยมีภาวะทพโภชนาการอย่างรุนแรง (Severe malnutrition)หรืออยู่ในภาวะ hypercatabolic state และไม่สมารถรับประทานอาหารทางปากได้มากกว่า 5 วัน
-ระบบทางเดินอาหารไม่ทำงาน (non functioning GI tract) เช่น severe malabsorption, short bowel syndrome
โรค Gout
ยาบรรเทา (relieve) โรคเกาต์กำเริบเฉียบพลัน (acute gouty attack) –ได้แก่ NSAIDs, colchicine และ glucocorticoids
เกิดจากกรดยูริกในเลือดสูง (hyperuricemia) และกรดยูริกไปสะสมตามข้อกระดูก ท าให้เกิดการอักเสบและปวดตามข้อต่าง ๆ
ยาป้องกันไม่ให้กลับมาเป็นซ้ำ (recurrent attack) –ได้แก่ colchicine, indomethacin, ยาลดการสร้างกรดยูริก และยาที่เร่งการขับกรดยูริก
Colchicine :ไม่มีผลต่อการขับกรดยูริกออกทางปัสสาวะ กลไกการออกฤทธิ์: ยับยั้งการทำงานของเม็ดเลือดขาว และการสร้างleukotriene B4 มีฤทธิ์ระงับอาการปวดจากโรคเกาสเท่านั้น ใช้ในกรณีเกิดอาการปวดข้อเกาส์อย่างเฉียบพลัน (acute gouty arthritis)
NSAIDs : นิยมใช้คือ indomethacin ใช้ระงับอาการกำเริบได้ทันที หรือ ใช้ร่วมกับ colchicine ได้ NSAIDs อื่น ๆ ใช้ได้ ยกเว้น aspirin เพราะขนาด (<2.6 g/d)ยับยั้งการชับกรดยูริกเข้าท่อไตเพิ่มการสะสมกรดยูริกในร่างกาย
Corticosteroids :ใช้สำหรับผู้ที่ใช้ NSAIDs/colchicine ไม่ได้ ตัวอย่าง – Prednisolone
Uricosuric Agents :เป็นยาที่เร่งหรือเพิ่มการขับกรดยูริคออกทางปัสสาวะกลไกการออกฤทธิ์ไปยับยั้งการการดูดซึมกลับ (tubular reabsorption ) ของกรดยูริคที่ท่อไตส่วน proximal tubule เช่น Probenecid Sulfinpyrazone
Uric acid Synthesis inhibitor
Allopurinol :เป็นยามีฤทธิ์ยับยั้งการสังเคราะห์กรดยูริค ด้วยการยับยั้งเอนไซม์ xanthine oxidase
Pharmacokinetics : ป้องกันโรค gout (ในช่วงแรก อาจตอ้งให้colchicine หรือ NSAIDs ร่วม) ใช้ป้องกันการเกิด hyperuricemia ในผู้ป่วยที่ได้รับยามะเร็ง (ตายของเซลล์ทำให้เกิดการสลาย purine ไปเป็นกรดยูริก)
ยาแก้ปวด-ลดไข้ (Analgesic-Antipyretics)
ไม้ทำให้เสพติด มีประสิทธิภาพแก้ปวดต่ำเมื่อเทียบกับ opioids ไม่ทำให้ดื้อยา
Aspirin
เป็นยาที่ใช้บรรเทาอาการปวด ลดไข้ ลดการอักเสบ เช่น ปวดศีรษะ ปวดฟัน ปวดประจำเดือน เป็นไข้ หากใช้ในปริมาณต่ำจะช่วยต้านเกล็ดเลือด ลดการเกิดลิ่มเลือด อาการเจ็บหน้าอก ภาวะหัวใจล้มเหลว หรือโรคหลอดเลือดในสมอง เป็นต้น
ออกฤทธิ์ยับยั้งการสังเคราะห์ prostaglandins ด้วยการยับยั้งเอนไซม์ cyclo-oxygenase (COX) ทั้งชนิด COX-1 และ COX-2
ฤทธิ์ข้างเคียง และพิษ :คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน และแผลในกระเพาะอาหาร ทำให้เกิด salicylism (หายใจเร็วและแรง มึนงง ปวดศีรษะ หูอื้อ สับสน ชัก) ภาวะสมดุลกรด-ด่างของร่างกายเสีย ใช้ในเด็กที่มีไข้จากเชื้อไวรัส ทำให้เกิด Reye's syndrome [มีอาการทางสมองเนื่องจากพิษต่อตับ (hepatic encephalopathy)] เป็นพิษต่อไต
Paracetamol (Acetaminophen)
ยาสามัญประจำบ้าน ใช้สำหรับบรรเทาอาการปวดเล็กน้อยถึงปานกลาง รวมถึงสามารถใช้เป็นยาลดไข้ได้ด้วย จัดอยู่ในกลุ่ม Analgesic (ยาแก้ปวด) และ Antipyretic (ยาลดไข้) โดยอาการปวดที่สามารถใช้ยาพาราเซตามอลบรรเทาได้ เช่น ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ ปวดหลัง ปวดฟัน ปวดข้อ แต่ยาพาราเซตามอลไม่สามารถใช้บรรเทาอาการปวดขั้นรุนแรงและไม่สามารถใช้รักษาอาการอักเสบได้ จึงเป็นยาที่นิยมนำไปผสมกับตัวยาอื่นเพื่อให้ออกฤทธิ์ได้กว้างขึ้น
การออกฤทธิ์ของยาพาราเซตามอลจะเข้าไปยับยั้งสารเคมีในสมอง เช่น สารพรอสตาแกลนดิน (Prostaglandins) ที่เกี่ยวข้องกับอาการปวด และทำให้อุณหภูมิของร่างกายลดลงได้ด้วยการยับยั้งสารในสมองส่วนที่มีหน้าที่ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
ฤทธิ์ข้างเคียง และพิษ :คลื่นไส้ อาเจียน มีอาการเหงื่อออก เบื่ออาหาร ทำให้เกิดการบาดเจ็บในตับ เกิดอาการสมองเสื่อมจากโรคตับ
COX-2 SELECTIVE INHIBITORS (coxibs)
Celecoxib
ออกฤทธิ์ยับยั้งเฉพาะ COX-2 การออกฤทธิ์ระงับปวด ต้านไข้ ต้านอักเสบ
Etorecoxib
Parecoxib
Eicosanoids
Autacoids เป็นกลุ่มสารในร่างกายที่สร้างและหลั่งและออกฤทธิ์เฉพาะบริเวณนั้น มีบทบาทเกี่ยวข้องกับกระบวนการอักเสบรวมทั้งการเกิดภูมิแพ้ต่าง ๆตัวอย่างได้แก่ eicosanoids, histamine, bradykinins, serotonin ฯลฯ
ประโยชน์
ใช้เป็นยารักษาโรคแผลในกระเพาะอาหาร
ใช้คงการเปิดของหลอดเลือด ductus arteriosus ในเด็กแรก
ใช้ช่วยในการทำคลอด และทำแท้ง
คลอดที่ปัญหาต้องผ่าตัดเพื่อการรักษาโรคหัวใจ
ใช้รักษาโรคต้อหิน
โรคข้ออักเสบ
Osteoarthritis (โรคข้อเสื่อม) OA
Gouty arthritis
Rheumatoid arthritis (โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์) RA