Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Appendicitis (ไส้ติ่งอักเสบ) - Coggle Diagram
Appendicitis (ไส้ติ่งอักเสบ)
ความหมาย
การอักเสบของไส้ติ่งที่อยู่ระหว่างลำไส้เล็กส่วนปลายและลำไส้ใหญ่ส่วนต้น นับเป็นอาการที่เกิดขึ้นอย่างเฉียบพลันและอันตราย เพราะถ้าหากไม่ได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัด ไส้ติ่งที่อักเสบจะแตก ทำให้เชื้อโรคที่อยู่ในไส้ติ่งแพร่กระจายไปทั่วร่างกาย อาจเข้าสู่กระแสเลือดจนทำให้เป็นอันตรายต่อชีวิตได้
พยาธิสภาพ
เมื่อมีสิ่งอุดตันในรูไส้ติ่ง ผนังชั้นใน (mucosa ยังคงผลิตเมือกตามปกติ ทำให้ความดันภายในรูไส้ติ่งเพิ่มขึ้น ส่งผลให้การไหลเวียนเลือดลดลง ผนังชั้น ในจะเริ่มบวมและเกิดอักเสบ (acute appendicitis) ต่อมาเมื่อความดันภายใน ไส้ติ่งยังคงสูงอย่างต่อเนื่องจะเกิดขาดเลือดและตายเฉพาะส่วนของผนังชั้นนอก ของไส้ติ่งทำให้เกิดรูทะลุ แบคที่เรียที่อยู่ในไส้ติ่งแพร่ผ่านผนังที่ตายนี้ออกมา (ruptured appendicitis) ทำให้เกิดเยื่อบุช่องท้องอักเสบชื่งอาจเป็นอันตรายถึงชีวิตหากช่วยเหลือไม่ทัน
อาการเเละอาการแสดง
ปวดบริเวณรอบสะดือก่อนที่จะย้ายไปปวดบริเวณหน้าท้องด้านล่างขวา ปวดบริเวณ McBurney's point (หน้าท้องด้านขวาล่าง ต่ำแหน่ง 1/3 ของเส้นที่ลากจาก anterior superior iliac spine ไปที่สะดือ)
เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน มีไข้
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
1.ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดเเผล
กิจกรรมการพยาบาล
-ประเมินอาการปวด บริเวณที่ปวด ระดับความปวดเพื่อติดตามปัญหาและเฝ้าระวัง
-จัดทำให้นอนศีรีษะสูงเล็กน้อย (15-20 องศา) เพื่อให้กล้ามเนื้อ หน้าท้องหย่อนตัว
-เบี่ยงเบนความสนใจเพื่อลดการจดจ่อที่แผล ผ่าตัด
-ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
ไม่สุขบายเนื่องจากท้องอืดมีลมในท้อง
การพยาบาล
ประเมินอาการท้องอืดมีลมในท้องและการผายลมเพื่อติดตามปัญหาและเฝ้าระวัง
ฟังการเคลื่อนไหวของลำไส้ (bowel sound)เพื่อติดตามปัญหาและเฝ้าระวัง
กระตุ้นให้เคลื่อนไหวและลุกจากเดิน (early ambulation) เพื่อให้ลำไส้เคลื่อนไหว
ให้อาหารตามขั้นบันได (step diet) อย่างเคร่งขัดได้แก่อาหารเหลว-อาหารอ่อน-อาหารปกติ
ให้ยาขับลมและยาแก้ท้องอืดตามแผนการรักษา
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล : เสี่ยงต่อการติดเชื้อในช่องท้องเพิ่มขึ้นเนื่องจากไส้ติ่งแตก
การพยาบาล
ประเมินอาการติดเชื้อเช่น แผลบวมแดง ลักษณะสีของ drain เพื่อติดตามปัญหาและเฝ้าระวัง
•ให้การพยาบาลโดยใช้หลักการ standard precaution เพื่อลดการนำเชื้อแก่ผู้ป่วย
ดูแลท่อระบาย (drain) ให้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพเช่น แขวนถุงdrain ต่ำกว่าแผล
ให้ยาฆ่าเชื้อแผนการรักษา
การรักษา
ผ่าตัดไส้ติ่งออกโดยเปิดหน้าท้อง (Appendectomy)
ผ่าตัดไส้ติ่งผ่านกล้อง (Laparoscopic appendectomy)
การพยาบาลก่อนเเละหลังผ่าตัด
ก่อนผ่าตัด
งดอาหารและน้ำดื่มไว้ด้วยเพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการ ผ่าตัด6 ชั่วโมงเพื่อความปลอดภัยของการดมยาสลบ ,ถอดของมีค่าหรือสิ่งแปลกปลอมจากธรรมชาติ (เช่น ถอด ฟันปลอมออก เพื่อป้องกันการหลุดของฟันปลอมเข้าไปอุดหลอดลม
หลังผ่าตัด
หลังการผ่าตัดส้ติ่ง 24 ชั่วโมง ผู้ป่วยจะต้องทำการลุกจากเตียง เพื่อให้ ลำไส้มีการเคลื่อนไหวเร็วขึ้น งดอาหารและน้ำหลังผ่าตัดวันแรก ส่วนการ ดูแลแผลผ่าตัด ห้ามให้ผ้าปิดแผลเปียกน้ำ ห้ามให้แผลโดนน้ำ ห้ามเกา การรับประทานอาหารที่มี โปรตีนสูง เพราะจะช่วยให้แผลติดเร็วมากขึ้น
สาเหตุ
เกิดจากการที่มีการอุดตันของไส้ติ่ง โดยอาจจะอุดตันจากเศษอุจจาระขนาดเล็ก วัตถุแปลกปลอม หรือตัวพยาธิ ทำให้ไม่มีการระบายถ่ายเทและเกิดการเพิ่มความดันภายในไส้ติ่ง ซึ่งต่อมาจะทำให้ไส้ติ่งบวม แดง มีการเจริญเติบโตของแบคทีเรียอย่างรวดเร็ว ทำให้เกิดเป็นหนอง และถ้าเป็นมากขึ้นก็อาจทำให้ไส้ติ่งแตก
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
ตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
โลหิตวิทยา (complete blood count) พบ leucocytosis (white blood cel> 10,000) sensitivity80% เม็ดเลือดขาวสูงกว่าปกติ
ตรวจอัลตร้าซาวด์ การตรวจเอกซย์คอมพิวเตอร์ (CT Scan)
การประเมินทางการพยาบาล
การตรวจร่างกาย และตรวจพิเศษ
LAB
WBC > 10000 /mm3 Neutrophil89.8%
ผล CT Scan พบไส้ติ่งอักเสบ
คลำ: กดเจ็บ(ปวดบริเวณMcBurney’s point ).
ดู : หน้าท้องโป่งตึง
ฟัง: bowel sound ลดลง
การตรวจอื่นๆ อาจให้ผลบวกในการตรวจ เช่น Obturator sign
Rovsing sign
Psoas sign
Abdomen
มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน 2-3 ครั้ง
T=39•c
คะเเนน Alvarado Score>7
เกณฑ์การประเมินผล
ประเมินคะเเนน Alvarado Score
Anorexia:ไม่มีอาการเบื่ออาหาร
Nausia/Vomiting :ไม่มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน
RLQ tenderness=ไม่มีอาการกดเจ็บท้องน้อยด้านขวา
RLQ Rebound tenderness = ไม่มีอาการกดปล่อยเจ็บ ท้องน้อยด้านขวา
Fever:temperatures <37.3องศา
1.Leucocytosi= WBC<10,000
2.Neutophil <75%