Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบประสาท2 - Coggle Diagram
ระบบประสาท2
น้้ําหล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลัง
(Cerebrospinal fluid: CSF)
อยู่ในโพรงสมอง 50 ml
อยู่ใน subarachnoid space 75 ml
ร่างกายมีน้้าหล่อเลี้ยง
สมองและไขสันหลัง (CSF) ประมาณ 125 ml
ลักษณะเป็นของเหลวใส ไม่มีสี
หน้าที่การทำงาน
ประคับประคองสมองให้ลอยตัวอยู่ในของเหลว
ท้าให้สมองมีน้้าหนักเบาขึ้น โดยมีน้้าหนักเพียง 14%ของน้้าหนักจริง
ช่วยปรับสมดุลของสารเคมีในระบบประสาทส่วนกลาง
ป้องกันการกระทบกระเทือนของสมองและไขสันหลัง
ขณะเคลื่อนไหวร่างกาย
น้าอาหารไปเลี้ยงสมองและไขสันหลัง
ระบายของเสียจากระบบประสาท
The Brain or Encephalon
บรรจุอยู่ภายในกะโหลกศีรษะ
(cranial cavity)
Cerebrum (Telencephalon): 85%
Cerebral hemisphere
ซีกสมอง
Gray matter
เนื้อสมองสีเทา
มีneuron จ้านวนมากกว่า 50 พันล้านตัว
มีneuroglia จ้านวน 250 พันล้านตัว
cerebral cortex
เปลือกสมอง
มีลักษณะหยักนูน : gyrus
• ร่องตื้น: sulcus
Central sulcus
ร่องกลาง
• ร่องลึก: fissure
Longitudinal fissure
ร่องแนวกลางตามยาว
Lateral fissure
ร่องด้านข้าง
Parieto-occipital fissure
กลีบข้าง
Calcarine fissure
กลีบท้ายทอย
Corpus callosum
สมองส่วนแข็ง
White matter
เนื้อสมองสีขาว
มี6 lobe
Frontal lobe อยู่หน้า central sulcus
Parietal lobe อยู่ระหว่าง central sulcus กับเส้นลาก
จาก parieto-occipital fissure ถึงpreoccipital notch
Temporal lobe อยู่ใต้ lateral fissure
Occipital lobe อยู่ทางด้านหลังของ parieto-occipital fissure
Insula อยู่ใน lateral fissure ซ่อนอยู่ใต้ frontal, parietal และ temporal lobe
Limbic lobe อยู่ทางด้านในของ cerebral hemisphere มีลักษณะโค้งโอบรอบ corpus callosum ประกอบด้วย cingulate gyrus, parahippocampal gyrus และ uncus
หน้าที่
การรับรู้ความรู้สึกต่างๆ
(Sensory function)
การได้ยิน (Auditory cortex) temporal lobe
การมองเห็น (Visual cortex) occipital lobe
การรับรู้รส (General sensory cortex) parietal lobe
การควบคุมการเคลื่อนไหว (Motor function)
: motor cortex frontal lobe
Association function
: เป็นการประมวลข้อมูลจาก sensory และ motor area
มาวิเคราะห์ให้เกิดการเรียนรู้ ความคิด ความจ้า การมีเหตุผล การมีสติ รวมทั้งการใช้ภาษา
• Cerebellum
• Folium
• Hemisphere
• Gray & White matter
หน้าที่
• ควบคุมการทรงตัว
• ช่วยควบคุมให้กล้ามเนื้อกลุ่มต่างๆทํางานประสานกัน เพื่อให้เกิดการเคลื่อนไหวที่แม่นอย่างถูกต้อง สมบูรณ์ ทั้งความเร็วและทิศทาง
• Diencephalon
• thalamus
• Hypothalamus
Function of Hypothalamus
ควบคุมการท้างานของระบบประสาทอัตโนมัติ
ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
ควบคุมการท้างานของต่อมไร้ท่อ
รักษาสมดุลของน้้าและเกลือแร่ของร่างกาย
ควบคุมพฤติกรรมการกินอาหาร
ควบคุมการหลับการตื่น
ควบคุมพฤติกรรมในการตอบสนองต่ออารมณ์ต่างๆ
การแสดงออกของความรู้สึกรัก ดีใจ เจ็บปวด กลัว และตกใจ
• Epithalamus: Pineal gland
• Subthalamus
• ก้านสมอง (Brainstem):
Midbrain,Pons, Medulla oblongata
• ด้านบนต่ออยู่กับ diencephalon
• ด้านล่างเรียวเล็กลงไปเชื่อมต่อกับไขสันหลังที่บริเวณforamen magnum
• Midbrain (Mesencephalon):
• Pons: ควบคุมกล้ามเนื้อบริเวณใบหน้า ควบคุมการเคี้ยว การหลั่งน้้าลาย
• Medulla oblongata: ศูนย์ควบคุมการท้างานของระบบ อัตโนมัติ
( Autonomic Center ) ศูนย์ควบคุมการหายใจ (Respiration Center ) ควบคุมการเต้นของหัวใจและระบบหมุนเวียนเลือด ควบคุม การเกิด Peristalsis และการหลังน้้าย่อย ควบคุมการหดตัว ของเส้นเลือด
โพรงสมอง (Ventricle)
Third ventricle เป็นช่องทางแคบๆ ที่
แทรกอยู่ระหว่าง diencephalon
Fourth ventricle เป็นโพรงรูปกระโจม
อยู่ทางด้านหลังของก้านสมอง
Lateral ventricle มี 2 ข้าง ซ้ายและขวา
อยู่ภายใน cerebrum แต่ละซีก
เยื่อหุ้มสมอง
(Cranial meninges)
Arachnoid
เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง
Pia mater
เยื่อหุ้มสมองชั้นใน
Dura mater
เยื่อหุ้มสมองชั้นนอก
ระบบประสําทอัตโนมัติ
(Automatic nervous system: ANS)
แบ่งเป็น 2 ระบบใหญ่ๆ
Sympathetic autonomic nervous system
เป็นระบบที่ช่วยปรับสมดุลของร่างกายในภาวะเครียด
เพื่อเตรียมตัวพร้อมที่จะรับสถานการณ์ฉุกเฉิน
Parasympathetic autonomic nervous system
เป็นระบบช่วยปรับสมดุลของร่างกายขณะที่อยู่ในสภาวะปกติ
พักผ่อนหรือนอนหลับ
เป็นการควบคุมการท้างาน
ที่เป็น involuntary controlประกอบด้วย
• Postganglionic neuron พบอยู่ในปมประสาท
• Preganglionic neuron อยู่ใน CNS
เส้นประสําทสมอง
(Cranial nerve)
ตําแหน่ง
• midbrain and above (CN I-IV),
• pons and pontomedullary junction (CN V-VIII),
• medulla and spinal cord (CN IX-XII).
มี12คู่
Olfactory nerve (CN. I) ท้าหน้าที่รับกลิ่น
Optic nerve (CN. II) น้าสัญญาณที่เกี่ยวกับการมองเห็นภาพ
Oculomotor nerve (CN. III) ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อตาเกือบทั้งหมด ควบคุมการกลอกลูกตาและยกหนังตาขึ้น
Trochlear nerve (CN. IV)กลอกลูกตา
Trigeminal nerve (CN. V)รับความรู้สึกจากใบหน้า ใช้เคี้ยวอาหาร
Abducens nerve (CN. VI) เลี้ยงกล้ามเนื้อตาเพื่อช่วยกลอกลูกตาออกไปทางด้านข้าง
Facial nerve (CN. VII) ท้าหน้าที่รับรสจากบริเวณ 2/3 ทางด้านหน้าของลิ้น ควบคุมการหลั่งน้้าตา และน้้าลาย
Vestibulocochlear nerve (CN. VIII)
Vestibular nerve รับข้อมูลเกี่ยวกับการทรงตัว
Cochlear nerve รับสัญญาณเสียงจากหูชั้นใน
Glossopharyngeal nerve (CN. IX) ท้าหน้าที่รับรสจากบริเวณ 1/3 ด้านหลังของลิ้น
Vagus nerve (CN. X) เป็นเส้นประสาทสมองที่มีความยาวมากที่สุด ไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆตั้งแต่ศีรษะลงไปจนถึงช่องท้อง
Accessory nerve (CN. XI) เลี้ยงกล้ามเนื้อบริเวณคอ
Hypoglossal nerve (CN. XII)ช่วยในการคลุกเคล้าอาหารการกลืน และการพูด