Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปที่เรียน วันที่ 14 ตุลาคม - Coggle Diagram
สรุปที่เรียน วันที่ 14 ตุลาคม
วิเคราะห์สภาพภายนอกและภายใน
S (strengths) จุดเเข็ง (ภายใน)
W (weaknesses) จุกอ่อน(ภายใน)
O (opportunities) โอกาส (ภายนอก)
T(threats) อุปสรรค (ภายนอก)
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพ
ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษาโดยมีกลไกในการควบคุมตรวจสอบระบบการบริหารคุณภาพการศึกษาที่สถานศึกษาจัดขึ้นเพื่อให้เกิดการพัฒนาและสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้มีส่วน
เกี่ยวข้องและสาธารณชนว่าสถานศึกษานั้นสามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
สำนักรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน) หรือบุคคลที่ สมศ.รับรอง
ดำเนินการทุกๆ 5 ปี
รายงานการประเมินตนเอง(Self Assessment Report : SAR)
รายงานผลการประเมินการดำเนินงานของคณะ/วิทยาลัย หน่วยงาน ในมหาวิทยาลัย ที่ใช้รายงานต่อหน่วยงานต้นสังกัด หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและให้สาธารณชนรับทราบเพื่อนำมาพัฒนาประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามมาตรฐาน
มาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน มี 3 มาตรฐาน
1) มาตรฐานคุณภาพผู้เรียน
2) มาตรฐานกระบวนการบริหารและการจัดการ
3) มาตรฐานกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การจัดระบบบริหารและสารสนเทศภานในสถานศึกษา
การปฏิรูปการศึกษารอบสอง มีความต้องการเน้น 2 เรื่องหลัคุณภาพการศึกษาและโอกาสทางการศึกษาซึ่งจะเน้นไปที่คุณภาพครู แนวคิดใหม่ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาเพื่อการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาการเพิ่มโอกาสทางการศึกษาและเรียนรู้และการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา
การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา 4 ประการ ดังนี้
1) การพัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่ เด็กไทยและคนไทยในอนาคต เป็นคนเก่ง ดีมีความสุข ดำรง รักษาความเป็นไทยและรู้เท่าทันกับสถานการณ์ของโลก
2) การพัฒนาครูยุคใหม่ โครงการครูพันธุ์ใหม่ ด้วยกระบวนการผลิตการอบรมครูประจำการให้มีความพร้อมมากยิ่งขึ้นให้มีจิตวิญญาณแห่งความเป็นครูและเป็นวิชาชีพชั้นสูง
3) การพัฒนาสถานศึกษาและแหล่งเรียนรู้ยุคใหม่ โดยสถานศึกษาทุกระดับและทุกประเภทต้องได้รับการพัฒนาให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มคุณภาพและพัฒนาแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ
4) การพัฒนาการบริหารจัดการใหม่ที่มุ่งเน้นเรื่องการกระจายอำนาจ เพื่อที่ให้การบริหารสถานศึกษามีความคล่องตัวและเป็นอิสระมากที่สุดควบคู่ไปกับการเน้นธรรมาภิบาล
องค์ประกอบการเขียนโครงการ
ชื่อโครงการ
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ
หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
วิธีดำเนินการ
แผนการปฏิบัติงาน
ระยะเวลาในการดำเนินโครงการ
งบประมาณและทรัพยากรที่ต้องใช้
การติดตามและประเมินผลโครงการ
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ระบบบริหารและสารสนเทศในสถานศึกษา
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2)
พ.ศ.2545
ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการบริหารข้อมูลสารสนเทศของกระทรวงศึกษา
พ.ศ.2549
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เรื่องการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษาของเลขาธิการ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานไปยังคณะกรรมการสำนักงานเขตพื้นทการศึกษา และสถานศึกษาในสังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2550
กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา พ.ศ.2550
กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกัน คุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553
การบริหารจัดการในสถานศึกษา
ด้านบุคลากร
การบริหารงานบุคคลในสถานศึกษาเป็นภารกิจสําคัญที่มุ่งส่งเสริมให้สถานศึกษาสามารถปฏิบัติงานเพื่อตอบสนองภารกิจของสถานศึกษาเพื่อดำเนินการด้านการบริหารงานบุคคลให้เกิดความรวดเร็ว และคล่องตัว
ด้านการบริหารทั่วไป
การบริหารทั่วไปเป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดระบบบริหารองค์กร ให้บริการบริหารงานอื่นๆบรรลุผลตามมาตรฐาน คุณภาพและเป้าหมายที่กำหนดไว้ โดยมีบทบาทหลักในการประสานงานส่งเสริม สนับสนุน และการอำนวยการความสะดวกต่างๆ ในการให้บริการการศึกษาทุกรูปแบบ
ด้านวิชาการ
งานวิชาการถือได้ว่าเป็นหัวใจสำคัญของสถานศึกษา ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 มุ่งให้กระจายอำนาจในการบริหารจัดการไปยังสถานศึกษา ด้วยเจตนารมณ์ที่จะให้สถานศึกษาดำเนินการต่างๆ ได้อย่างอิสระ สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน สถานศึกษา ชุมชน ท้องถิ่น สามารถพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้
ด้านงบประมาณ
การบริหารงานงบประมาณของสถานศึกษามุ่งเน้นความเป็นอิสระ ในการบริหารจัดการมีความคล่องตัว โปร่งใส ตรวจสอบได้ ยึดหลักการบริหารแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ และบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานให้มีการจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินของสถานศึกษา
แนวคิดและหลักการการจัดระบบบริหารและสารสนเทศภายในสถานศึกษา
การจัดระบบบริหารและสารสนเทศของสถานศึกษา นับว่ามีความส าคัญและจ าเป็นอย่างยิ่งในสถานศึกษาต้องมีระบบการบริหารและการจัดการศึกษาที่น าไปสู่คุณภาพของผู้เรียน รวมถึงระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพเป็นระบบถูกต้องสมบูรณ์เป็นปัจจุบัน และสามารถเรียกใช้ข้อมูลสารสนเทศได้ตลอดเวลาโดยผู้บริหารสถานศึกษาสามารถน าไปใช้ในการตัดสินใจด าเนินการต่าง ๆ ตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อมูล (Data)
สารสนเทศ
(Information)
ระบบสารสนเทศ
(Information System)