Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปที่เรียนวันที่ 14 ต.ค.64 - Coggle Diagram
สรุปที่เรียนวันที่ 14 ต.ค.64
ความรู้พื้นฐานทางการบริหารการศึกษา
ความหมายของการบริหารการศึกษา
หมายถึงการดำเนินงานของกลุ่มบุคคล ซึ่งอาจเป็นการดำเนินงานของครูใหญ่ร่วมกับครูน้อยในโรงเรียน หรืออธิการบดีร่วมกับอาจารย์ในมหาวิทยาลัย หรือรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการร่วมกับอธิบดีกรมต่างๆและครูอาจารย์ในสถาบันการศึกษาต่างๆ และกลุ่มบุคคลเหล่านี้ต่างร่วมมือกันพัฒนาคนให้มีคุณภาพทั้งสิ้น
ประวัติและพัฒนาของการบริหารการศึกษา
1) ยุคการบริหารเชิงวิทยาศาสตร์ (ค.ศ. 1910 - 1930)
2) ยุคการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ (ค.ศ. 1930 - 1950)
3) ยุคการบริหารเชิงพฤติกรรมศาสตร์ (ค.ศ. 1950 - 1970)
4) ยุคการบริหารเชิงระบบ (ค.ศ. 1970 - ปัจจุบัน)
การวิเคราะห์บริบท นโยบาย ยุทธศาสตร์
ความหมาย
บริบท คือ สภาวการณ์ที่แวดล้อม เงื่อนไขต่างๆ ที่รายล้อมเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง เรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือ ประเด็นใดประเด็นหนึ่ง
นโยบาย คือ แนวหรือวิธีการเพื่อการปฏิบัติที่รัฐบาล หรือสถาบัน หรือกลุ่ม หรือบุคคล เลือกจากทางเลือกหลายๆทาง
ยุทธศาสตร์ คือ วิธีการดำเนินงานที่มั่นใจได้ว่าจะนำไปสู่ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์
ความสำคัญ
ช่วยให้หน่วยงานพัฒนาตนเอง ให้ทันกับสภาพเปลี่ยนแปลง
ช่วยให้หน่วยงานมีความเป็นตัวเองมากขึ้น
เป็นเครื่องมือในการปฏิรูประบบราชการ
เป็นการให้ความสำคัญต่อการกำหนด "กลยุทธ์"ได้จากการคิดวิเคราะห์แบบใหม่ๆ
การวางแผนและการเขียนโครงการ
ขั้นตอนในการเขียนโครงการ
การประเมินผล
ระยะเวลาดำเนินการ
หลักการและเหตุผล
หน่วยงานที่ให้การสนับสนุน
วิธีดำเนินการ
งบประมาณ
เป้าหมาย
วัตถุประสงค์
ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ชื่อโครงการ
ชื่อแผนงาน
ผู้รับผิดชอบโครงการ
การประกันคุณภาพการศึกษา
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
การประกันคุณภาพภายนอก" หมายความว่า การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายนอก โดยสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาหรือบุคคลหรือหน่วยงานภายนอกที่สำนักงานดังกล่าวรับรอง เพื่อเป็นการประกันคุณภาพและให้มีการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
การประกันคุณภาพภายใน" หมายความว่า การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายใน โดยบุคลากรของสถานศึกษานั้นเอง หรือโดยหน่วยงานต้นสังกัดที่มีหน้าที่กำกับดูแลสถานศึกษานั้น
ความหมาย
“การประกันคุณภาพการศึกษา” หมายความว่าการประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษาโดยมีกลไกในการควบคุมตรวจสอบระบบการบริหารคุณภาพการศึกษาที่สถานศึกษาจัดขึ้นเพื่อให้เกิดการพัฒนาและสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและสาธารณชนว่าสถานศึกษานั้นสามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและบรรลุเป้าประสงค์ของหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กำกับดูแล
วงจรประกันคุณภาพ
Plan (การวางแผน)
หมายถึง ทักษะในการกำหนดเป้าหมาย การวิเคราะห์และสังเคราะห์ หาวิธีการและกระบวนการให้บรรลุเป้าหมายนั้นๆ โดยจะต้องมีการกำหนดตัวบ่งชี้กำกับไว้ เพื่อจะได้นำไปใช้ในการประเมินผลดำเนินการ
Do (การดำเนินงาน)
หมายถึง ทักษะในการปฏิบัติตามแผน ตามขั้นตอนและเงื่อนไขต่างๆ ที่กำหนดไว้ กรณีที่ไม่สามารถดำเนินการได้ เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงปัจจัยสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอก จะต้องมีการปรับแผนในระหว่างดำเนินการโดยมีคำอธิบายและเหตุผลประกอบ
Check (การประเมินผล)
หมายถึง ทักษะในการรวบรวมข้อมูลของผลการดำเนินงานที่สอดคล้องกับประเด็นตัวบ่งชี้ที่สร้างไว้ เพื่อนำมาใช้เปรียบเทียบกับเป้าหมายของแผนในขั้นตอนที่ 1 ในการประเมินนี้จะต้องพิจารณาในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพของผลงานด้วย
Act (การปรับปรุง)
หมายถึง ทักษะที่ต้องการให้นำผลการประเมินมาใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงผลการดำเนินงานในครั้งต่อไปให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น เช่น สร้างความพึงพอใจให้มากขึ้น ผลงานได้รับรางวัลคุณภาพ มีการประหยัดเวลา ประหยัดค่าใช้จ่าย มีปริมาณงานมากขึ้น สร้างความคุ้มค่า หรือสร้างคุณค่าของผลงานให้สูงขึ้น
มาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารสถานศึกษา
การส่งเสริมและการมีส่วนร่วมของทุก ภาคส่วนในการจัดการศึกษา 4 ประการ
1) การพัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่
2) การพัฒนาครูยุคใหม่
3) การพัฒนาสถานศึกษาและแหล่งเรียนรู้ยุคใหม่
4) การพัฒนาการบริหารจัดการใหม่
ระบบสารสนเทศในสถานศึกษา
สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลที่ได้ผ่านการประมวลผลหรือการวิเคราะห์ด้วยวิธีการ ต่างๆ จนอยู่ในรูปแบบที่มีความหมาย
ระบบสารสนเทศ (Information System) หมายถึง กระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูล การประมวลผลให้อยู่ในรูปสารสนเทศที่เป็นประโยชน์สูงสุดและการจัดเก็บรักษาอย่างมีระบบเพื่อสะดวกต่อการนำไปใช้
ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ซึ่งอาจแสดงเป็นตัวเลข ตัวหนังสือ หรือสัญลักษณ์
ระบบย่อยภายในสถานศึกษา
ปัจจัยนำเข้า (Input) เป็นทรัพยากรหรือสิ่งที่จำเป็นเพื่อนำไปสู่ระบบและก่อให้เกิดการทำงาน
กระบวนการ (Process) เป็นการทำหน้าที่แปรสภาพทรัพยากรหรือประมวลผลให้เป็นผลผลิต
4 ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) เป็นส่วนที่ใช้ควบคุมการทำงานของระบบให้เป็นไปตาม วัตถุประสงค์รวมถึงชี้ให้เห็นข้อดีและข้อบกพร่องของปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลผลิต
ผลผลิต (Output) เป็นสิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นตามวัตถุประสงค์ของระบบ
5 สภาพแวดล้อม (Environment) เป็นสภาพทั่วไปของบริบทที่อยู่ล้อมรอบระบบหรือ องค์การ
การบริหารจัดการในสถานศึกษา
ด้านงบประมาณ
ด้านวิชาการ
ด้านการบริหารทั่วไป
ด้านบุคลากร