Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้ป่วยโรคระบบทางเดินหายใจ - Coggle Diagram
การดูแลผู้ป่วยโรคระบบทางเดินหายใจ
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง COPD
สาเหตุที่พบบ่อย
- การสูบบุหรี่ / มลพิษทางอากาศ / พันธุกรรม
อาการ
ไอ เสมหะมาก หายใจลำบาก
ปอดอักเสบเรื้อรัง - ไอเรื้อรัง เป็นๆ หายๆ
มีเสมหะมาก อาจมีสีขาว เขียว อาจมีไข้ มีเลือดปน
ถุงลมโป่งพอง - มีอาการหอบเหนื่อยง่าย
การรักษา
รักษาด้วยยา - ยาขยายหลอดลม
การบำบัดด้วยออกซิเจน
หลีกเลี่ยงมลพิษทางอากาศ
การผ่าตัดเพื่อลดปริมาณปอด
เลิกสูบบุหรี่
บรรเทาอาการของโรค ชะลอความเสื่อมของปอด
การช่วยเหลือดูแล
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจน
ออกกำลังกาย เสริมความแข็งแรงให้กล้ามเนื้อที่ใช้ในการหายใจ
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ พักผ่อนให้เพียงพอ
ฝึกการหายใจ และการไออย่างมีประสิทธิภาพ
การปรึกษาปัญหาทางจิตวิทยา
การให้ความรู้เกี่ยวกับโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
ปอดอักเสบ / ปอดบวม
กลุ่มเสี่ยง
ทารก เด็กเล็ก และผู้สูงอายุ
การสูบบุหรี่ ดื่มแอลกอฮอล์ หรือรับประทานยาบางชนิด
มีโรคประจำตัว เช่น โรคหัวใจ เบาหวาน มะเร็ง เอดส์ ฯลฯ
การไม่รักษาสุขภาพและอนามัย
สาเหตุ
ส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย และส่วนน้อยเกิดจากสารเคมี
หมายถึง
การอักเสบ / ติดเชื้อของเนื้อปอด ทำให้ปอดทำหน้าที่ได้น้อยลง เกิดอาการหายใจเหนื่อยหอบ ซี่งอาจเป็นภาวะร้ายแรงถึงชีวิตได้
อาการ
อาการไข้ มักเกิดขึ้นอย่างฉับพลัน
อาการไอ ระยะแรกไอแห้งๆ ระยะต่อมาจะมีเสมหะ
เจ็บหน้าอก เจ็บแปลบเวลาหายใจเข้า
หอบเหนื่อย หายใจเร็ว
ส่วนใหญ่มักมีอาการติดเชื้อของทางเดินหายใจส่วนต้นหรือโรคหวัดนำก่อน
ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ เจ็บคอ ปวดท้อง
ในผู้สูงอายุมีอาการซึม สับสน และไม่มีไข้
ในทารก ปวดท้อง ท้องอืด อาเจียน ซึม
ปอดอักเสบจากภาวะแทรกซ้อน ไข้หวัดใหญ่ หัด สุกใส ไอกรน สครับไทฟัส ฉี่หนู
การรักษา
รักษาด้วยยาปฏิชีวนะ
รักษาตามอาการ / รักษาภาวะแทรกซ้อน
วิธีป้องกัน
การฉีดวัคซีนรวมป้องกันโรคคอตีบ บาดทะยัก และไอกรน
DTP
วัคซีนรวมป้องกันโรคหัด คางทูม และหัดเยอรมัน
MMR
วัคซีนป้องกันอีสุกอีใส
Varicella Vaccine
วัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่
Influenza Vaccine
วัคซีนป้องกันการติดเชื้อสเตรปโตค็อกคัส นิวโมเนียอี
Pneumococcal Vaccine
COVID-19
อาการ
องค์การอนามัยโลก ระบุว่า ผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ จะมีอาการเริ่มแรกคือ มีไข้ ตามมาด้วยอาการไอแห้ง ๆ หลังจากนั้นราว 1 สัปดาห์จะมีปัญหาหายใจติดขัด ผู้ป่วยอาการหนักจะมีอาการปอดบวมอักเสบร่วมด้วย หากอาการรุนแรงมากอาจทาให้อวัยวะภายในล้มเหลว
ขณะที่กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข แนะนาว่า หากผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยงการระบาดของโรคมีอาการไข้ ร่วมกับอาการทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ไอ เจ็บคอ มีน้ามูก หายใจเหนื่อยหอบ ควรรีบพบแพทย์ทันที
การตรวจหาเชื้อ
เป็นการตรวจหาสารพันธุกรรมของไวรัส COVID-19 ที่ทางองค์การอนามัยโลกแนะนา เนื่องจากมีความไวและความจาเพาะสูง ทราบผลภายใน 24 ชั่วโมง* และสามารถตรวจจับเชื้อไวรัสในปริมาณน้อยๆได้ ในรูปแบบของสารพันธุกรรม ไม่ว่าจะเชื้อเป็น หรือเชื้อตาย โดยเก็บจากสารคัดหลั่งทางเดินหายใจส่วนบนของผู้สงสัยติดเชื้อไวรัสโควิด-19 จึงเป็นวิธีที่เหมาะสมสาหรับการตรวจวินิจฉัยโรค เพื่อการรักษาที่รวดเร็ว ตั้งแต่ระยะแรกของการเกิดโรค
การรักษา
ให้รับผู้ป่วยไว้รักษาในห้องแยกที่มีความดันอากาศในห้องเป็นลบซึ่งมีอยู่แล้วในโรงพยาบาลขนาดใหญ่หรือโรงพยาบาลศูนย์ ผู้ป่วยสวมหน้ากากอนามัย ให้การรักษาแบบประคับประคอง มีการให้ออกซิเจนหรือใส่ท่อช่วยหายใจตามความจาเป็น เป็นต้น ผู้ป่วยที่สงสัยว่าติดเชื้อจะต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลทันทีและห้ามผู้ป่วยเดินทางไปทางานหรืออยู่ที่บ้านโดยเด็ดขาด โรงพยาบาลต้องมีการวิธีกาจัดเชื้อไวรัสในพื้นที่และสถานที่โดยรอบที่ตรวจพบเชื้อ แพทย์ต้องรายงานผลการตรวจผู้ป่วยทุกรายที่พบการติดเชื้อไวรัสโคโรน่าให้กรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุขและสสจ.ในแต่ละจังหวัดด้วย
วัคซีนป้องกัน
mRNA vaccines
เป็นการผลิตโดยใช้สารพันธุกรรมของเชื้อไวรัสซาร์ส-โควี-2 (SARS-CoV-2) เมื่อฉีดเข้าไปในร่างกาย จะทาให้ร่างกายสร้างโปรตีนที่สามารถกระตุ้นการสร้างภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัสขึ้นมา
Viral vector vaccines
เป็นการฝากสารพันธุกรรมของเชื้อไวรัสซาร์ส-โควี-2 (SARS-CoV-2) เข้าไปในสารพันธุกรรมของไวรัสชนิดอื่นที่อยู่ในสภาพที่ไม่ก่อให้เกิดโรค เพื่อพาเข้ามาในร่างกาย ทาให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัสขึ้นมา
Protein-based vaccine
s จะใช้โปรตีนบางส่วนของเชื้อไวรัสซาร์ส-โควี-2 (SARS-CoV-2) เช่น โปรตีนส่วนหนาม (spike protein) ฉีดเข้าไปในร่างกายเพื่อกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัส
Inactivated vaccines
ผลิตโดยการใช้ไวรัสซาร์ส-โควี-2 (SARS-CoV-2) ที่ถูกทาให้ตายแล้ว เมื่อฉีดเข้าไปในร่างกาย จะกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัส