Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
What-is-Creativity บทที่ 9 วิธีช่วยพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ - Coggle Diagram
บทที่ 9 วิธีช่วยพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
แนวทางการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
ความหมายและความสำคัญ
ควรเน้นการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบกลุ่ม
ใช้กิจกรรมและพลวัตของกลุ่มกระตุ้นสมาชิก
กลุ่มพยายามคิดในมุมมองที่แตกต่าง
กระตุ้นจนสามารถค้นพบความคิดสร้างสรรค์ด้วยตนเองในที่สุด
สอนให้ผู้เรียนคิดแบบ Paradox
สอนให้ผู้เรียนคิดพิจารณา
สอนให้ผู้เรียนคิดเปรียบเทียบเชิงอุปมาอุปไมย
ฝึกให้ผู้เรียนคิดหาประเด็นที่ขัดแย้ง
ฝึกให้ผู้เรียนตอบสนองต่อคำถามที่ค่อนข้างก้าวร้าว
ฝึกผู้เรียนให้คิดเปลี่ยนแปลง
ฝึกผู้เรียนให้คิดต่างจากสิ่งที่ตนเองเคยเชื่อ
ฝึกให้ผู้เรียนคิดสร้างสิ่งใหม่จากโครงสร้างเดิม
ฝึกผู้เรียนให้มีทักษะการค้นคว้าข้อมูล
มีความอดทนค้นหาคำตอบจากคำถามที่กำกวมไม่ชัดเจน
มีญาณหยั่งรู้
การปรับตัวพัฒนาตนเอง
การศึกษาประวัติและกระบวนการคิดสร้างสรรค์ของบุคคลสำคัญ
การประเมินสถานการณ์
จิตวิทยาการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
แนวคิดของนักจิตวิทยากลุ่มพฤติกรรมนิยม
เน้นการสร้างกระบวนการเรียนรู้ทีเหมาะสม เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความคิดสร้างสรรค์เพิ่มขึ้น
แนวคิดของนักจิตวิทยากลุ่มจิต
เน้นการตอบสนองความต้องการของแรงขับจากภายในจิตใจของบุคคลแต่ละคนเป็นสำคัญ
แนวคิดของนักจิตวิทยากลุ่มมนุษยนิยม
เน้นการสร้างกระบวนการส่งเสริมบุคคลค้นพบศักยภาพ ยอมรับในคุณค่า และส่งเสริมให้มั่นใจในตนเอง สร้างสภาพแวดล้อมส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
นักจิตวิทยากลุ่มซินเนคติคส์
เชื่อว่าความคิดสร้างสรรค์เป็นสิ่งที่สอนได้อาศัยกระบวนการทางจิต
แนวทางการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
การส่งเสริมทางอ้อม
การจัดสภาพแวดล้อมหรือจัดบรรยากาศใหเ้อื้อต่อการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
การส่งเสริมทางตรง
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อให้ความรู้ฝึกทักษะ สร้างเจตคติที่ดีต่อการคิดสร้างสรรค์ให้แก่ผู้เรียน
ความหมายและความสำคัญ
เป็นกระบวนการที่ต้องดำเนินการเป็นระยะ ๆ อย่างต่อเนื่อง
องค์การเป็นผู้สนับสนุนและกระตุ้นทางปัญญาใหแ้ก่พนักงาน
เปิดโอกาสให้พนกังานมีส่วนร่วมทางความคิดในการทำงานขององค์การมากขึ้น
สร้างกิจกรรมจุดประกายทางความคิดใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง
เทคนิควิธีการที่ใช้ในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
เทคนิคการเปรียบเทียบ
โดยตรง>บุคคล>จินตนาการ
เทคนิคการระดมสมอง
เทคนิคการสืบสวสอบสวน
เทคนิควิธีการบันทึกคุณลักษณะ
องค์ประกอบของการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
สร้างทักษะพื้นฐาน
กำหนดประเด็นของการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ใ์ห้แคบและชัดเจน
กำหนดเป้าหมายที่ชัดเจน
กระตุ้นผู้เรียนให้มีความกระตือรือร้นอยากรู้อยากเห็น
กระตุ้นผู้เรียนให้มีแรงจูงใจภายในตนเอง
พัฒนาผู้เรียนให้มีความมั่นใจในตนเองและกล้าเสี่ยงอย่างสุขุมรอบคอบ
สร้างบรรยากาศที่สนับสนุนการเรียนการสอนความคิดสร้างสรรค์
สร้างโอกาส สร้างช่องทางการเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศที่เป็นประโยชน์
พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการคิดแบบอภิปัญญา
กระตุ้นผู้เรียนใหเ้กิดจินตนาการสามารถคิดไปได้ไกลกว่าข้อมูลที่เห็น
เปิดโอกาสให้ผ้เูรียนเป็นผู้จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ความคิดและเครื่องมือในการแก้ปัญหาด้วยตนเอง
ให้ผู้เรียนเรียนรู้ที่จะเผชิญและจัดการกับความล้มเหลว
เน้นการพัฒนาผู้เรียนให้ใช้เทคนิคการคิดเชิงระบบ
พัฒนาวุฒิภาวะทางอารมณ์ของผู้เรียนโดยการเปิดโอกาสให้ผ้เู้รียนได้แสดงอารมณ์รู้สึกได้อย่างอิสระ
หลีกเลี่ยงการลงโทษทุกๆ ทางโดยเลือกใช้ทั้งการเสริมแรงบวกและการเสริมแรงลบตามความเหมาะสม
แนวคิดด้านจิตวิทยาพัฒนาการกับความคิดสร้างสรรค์
พัฒนาการของความคิดสร้างสรรค์ในช่วงวัย 2-4 ปี
พัฒนาการของความคิดสร้างสรรค์ในช่วงวัย 4-6 ปี
พัฒนาการของความคิดสร้างสรรค์ในช่วง วัย10-12 ปี
พัฒนาการของความคิดสร้างสรรค์ในช่วงวัย16-18 ปี
พัฒนาการของความคิดสร้างสรรค์ในช่วงวัย 14-16 ปี
พัฒนาการของความคิดสร้างสรรค์ในช่วง วัย12-14 ปี
พัฒนาการของความคิดสร้างสรรค์ในช่วงวัยแรกเกิด-2 ปี
พัฒนาการของความคิดสร้างสรรค์ในช่วงวัย 8-10 ปี
พัฒนาการของความคิดสร้างสรรค์ในช่วงวัย 6-8 ปี