Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาระงับปวด ลดไข้ ต้านการอักเสบ สารน้ำและสารอาหารทางหลอดเลือดดำ,…
ยาระงับปวด ลดไข้ ต้านการอักเสบ
สารน้ำและสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
Eicosanoids
Autacoids เป็นกลุ่มสารในร่างกายที่สร้างและหลั่ง ออกฤทธิ์เฉพาะบริเวณ มีบทบาทเกี่ยวข้องกับกระบวนการอักเสบรวมทั้งการเกิดภูมิแพ้ต่าง ๆ
ประโยชน์ทางคลินิก
ใช้ช่วยในการทำคลอด และทำแท้ง
ใช้เป็นยารักษาโรคแผลในกระเพาะอาหาร
ใช้คงการเปิดของหลอดเลือด ductus arteriosus ในเด็กแรกคลอดที่มีปัญหาต้องผ่าตัดเพื่อการรักษาโรคหัวใจ
ใช้รักษาโรคต้อหิน
ยาแก้ปวด-ลดไข้
ประสิทธิภาพแก้ปวดต่ำ
aspirin, paracetamol
ไม่เสพติดและไม่ทำให้ดื้อยา
Aspirin (ASA)
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการสังเคราะห์ prostaglandins ด้วยการยับยั้งเอนไซม์ (COX)
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ระงับปวด ลดไข้
ต้านการอักเสบ
ต้านเกล็ดเลือด ยับยั้งการเกาะกลุ่มของเกล็ดเลือด
ขับกรดยูริกออกทางปัสสาวะ
อยู่ในกลุ่ม salicylates
ฤทธิ์ข้างเคียง และพิษ
คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน แผลในกระเพาะอาหาร
หายใจเร็วแรง มึนงง ปวดศีรษะ หูอื้อ
พิษต่อไตและแพ้ยา
Paracetamol (Acetaminophen)
ถูกทำลายที่ตับด้วย cytochrome P450 ได้สารที่มีพิษต่อตับ
วิธีแก้พิษ
ให้ N-acetylcysteine (NAC ซึ่งเป็นสารเริ่มของ glutathione)
ต่างจาก aspirin คือ
ไม่มีฤทธิ์ต่อเกล็ดเลือด และสมดุลกรด-ด่างของร่างกาย
ไม่มีฤทธิ์ต่อการขับกรดยูริก
ฤทธิ์ระคายเคืองกระเพาะอาหารต่ำ
ฤทธิ์ต้านการอักเสบต่ำ
Non-steroidal Anti-inflammatory Drugs (NSAIDs)
เป็นกลุ่มยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์
Indomethacin, Diclofenac, Ibuprofen, Mefenamic acid, Piroxicam
ข้อบ่งใช้
แก้ปวด ปวดประจำเดือน
ใช้ลดไข้ เร่งการปิดหลอดเลือด ductus arteriosus ในเด็กแรกคลอด
ต้านการอักเสบ รวมทั้งโรครูมาตอยด์ ข้อกระดูกอักเสบ โรคเก๊า
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการสร้าง prostaglandin ด้วยการยับยั้งเอนไซม์ COX
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ต้านการอักเสบ ระงับปวด ลดไข้ ระคายเคืองกระเพาะอาหาร
ฤทธิ์ข้างเคียง
ปวดศีรษะ หูอื้อ มึนงง คลื่นไส้ อาเจียน หอบหืด ผื่นคัน ความดันโลหิตสูง ของเหลวคั่งในร่างกาย
COX-2 selective inhibitors (coxibs)
มีฤทธิ์ระงับปวด ลดไข้ ต้านอักเสบ
มีฤทธิ์ข้างเคียงต่อทางเดินอาหารน้อยกว่า
Celecoxib, Etorecoxib, Parecoxib
ออกฤทธิ์ยับยั้งเฉพาะ COX-2
Gout
เกิดจากกรดยูริกในเลือดสูง แลไปสะสมตามข้อกระดูก ทำให้เกิดการอักเสบและปวดข้อต่าง ๆ
เป้าหมายในการรักษา
บรรเทาโรคเก๊ากำเริบเฉียบพลัน
ป้องกันไม่ให้กลับมาเป็นซ้ำ
ลดหรือเลี่ยงอาหารที่มี purine สูง
Uricosuric Agents
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการดูดซึมกลับ
ข้อบ่งใช้
ใช้ป้องกันโรคเก๊าท์
เป็นยาที่เร่งหรือเพิ่มการขับกรดยูริกออกทางปัสสาวะ
ฤทธิ์ข้างเคียง
ระคายเคืองทางเดินอาหาร ผื่นแพ้ตามผิวหนัง นิ่วในทางเดินปัสสาวะ
Probenecid, Sulfinpyrazone
ข้อห้ามใช้
ผู้ป่วยที่มีประวัติเป็นนิ่วในท่อไต
Uric acid Synthesis inhibitor
Allopurinol
ฤทธิ์ข้างเคียง
คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน ผื่นแพ้ตามผิวหนัง ต้อกระจก
ข้อบ่งใช้
ป้องกันโรคเก๊าท์
ป้องกันการเกิด hyperuricemia ในผู้ป่วยที่ได้รับยามะเร็ง
เป็นยาที่มีฤทธิ์ยับยั้งการสังเคราะห์กรดยูริค ด้วยการยับยั้งเอนไซม์ xanthine oxidase
Colchicine
ข้อบ่งใช้
กรณีเกิดอาการปวดข้อเก๊าท์อย่างเฉียบพลัน
ใช้ป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
ฤทธิ์ข้างเคียง
ท้องเดิน คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ผมร่วง กดไขกระดูก เกิดปลายประสาทอักเสบ
พิษจากยา: ลำคอปวดแสบปวดร้อน ถ่ายและปัสสาวะเป็นเลือด
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการทำงานของเม็ดเลือดขาว
มีฤทธิ์ระงับอาการปวดจากโรคเก๊าเท่านั้น
ไม่มีผลต่อการขับกรดยูริกออกทางปัสสาวะ
Corticosteroids
ใช้สำหรับผู้ที่ใช้ NSAIDs/colchicine ไม่ได้
Intraarticular injection
Prednisolone
Disease-Modifying Antirheumatic Drugs(DMARDs)
ตัวอย่างยา
Methotrexate, Azathioprine and Cyclosporine, salfasalazine, Lefiunomide, Auranofin
เป้นยาสังเคราะห์ ออกฤทธิ์ส่วนใหญ่โดยกดระบบภูมิคุ้มกันแบบไม่เฉพาะเจาะจง
ออกฤทธิ์ช้า ใช้เวลา 6 อาทิตย์- 6 เดือนกว่าจะเห็นผล
ใช้ในผู้ป่วยระยะ active progress
ลด inflammation
Biologic Response Modifiers(BRMs)
ยากลุ่มนี้ออกฤทธิ์ส่วนใหญ่ผ่านระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายแบบเฉพาะเจาะจง
นิยมเลือกใช้ในกรณีที่ใช้การรักษาด้วยยาอื่นแล้วไม่ได้ผล
ตัวอย่างยา
Etanercept, Infliximab, adalimumab, Abatacept, Rituximab, Anakinra
ยามีราคาแพง
สารน้ำสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
Dextran
สารน้ำเพื่อเพิ่ม plasma volume
สำหรับภาวะช็อคเพิ่มการไหลเวียนเลือด ให้ทดแทนการให้เลือดขณะรอเลือดจากการผ่าตัด
Dextrose
ข้อบ่งใช้ รักาาผู้ป่วยที่มีน้ำตาลในเลือดต่ำหรือให้เพื่อทดแทนแคลอรี่
เป้นน้ำตาลธรรมชาติที่อยู่ในอาหารและถูกเผาผลาญเป็นคาร์โบไฮเดรต
ข้อบ่งชี้ในการให้อาหารทางหลอดเลือดดำ
ระบบทางเดินอาหารไม่ทำงาน
ต้องการให้ระบบทางเดินอาหารได้พัก
ผู้ป่วยมีภาวะทุพโภชนาการอย่างรุนแรง หรืออยู่ในภาวะ hypercatabolic state และไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้มากกว่า 5 วัน