Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การเขียนรายละเอียดขององค์ประกอบ ของแผนการจัดการเรียนรู้,…
บทที่ 7
การเขียนรายละเอียดขององค์ประกอบ
ของแผนการจัดการเรียนรู้
การเขียนส่วนหัวเรื่อง (Heading)
เป็นส่วนแรกของแผนการจัดการเรียนรู้
2.ระบุกลุ่มสาระการเรียน
1.ระบุลำดับที่ของแผน
3.ระบุระดับชั้นที่สอน
4.ระบุหัวข้อเรื่อง
5.ระบุเวลาที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้
6.ระบุ/ ว/ด/ป และช่วงเวลาในการจัดการเรียนรู้
การเขียนสาระสำคัญ (Concept)
สาระสำคัญที่ระบุให้เห็นแก่นหรือข้อสรุปที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนหลังจากการเรียนรู้
มีแนวโน้มในการเขียนดังนี้
1.เขียนในลักษณะของการสรุปเนื้อหาที่ชัดเจน
2.เขียนในลักษณะความเรียงหรือเป็นข้อ ๆ ในการจัดการเรียนรู้ที่มากกว่า 1 สาระสำคัญ
3.การจัดการเรียนรู้ในระดับต้น ๆ ควรมีสาระสำคัญเดียวต่อ 1 ครั้ง
การเขียนจุดประสงค์การเรียนรู้ (Objective)
คือข้อความที่ระบุลักษณะด้านความรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรมหรือเจตคติและด้านกระบวนการที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน
1.จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม (Behavioral Objective)
จะบ่งชี้ถึงพฤติกกรมของผู้เรียนที่แสดงออก และสังเกตได้หลังจากการเรียนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมที่สมบรูณ์ มี 3 ส่วนได้แก่
2.พฤติกรรมของนักเรียนที่ครูควดหวังให้แสดงออกมามักใช้คำว่า: อธิบาย บรรยาย บอก เขียน วาด ชี้ คำนวณ ตอบ คำที่ไม่นำมาใช้: รู้ เข้าใจ ซาบซึ้ง ตระหนัก
3.เกณฑ์ของระดับความสามารถของนักเรียนที่แสดงพฤติกรรม
1.สถานการณ์ที่ครูตั้งขึ้น มักจะใช่คำว่า: หลังจากที่ เมื่อ
2.จุดประสงค์ปลายทางและจุดประสงค์นำทาง
จุดประสงค์นำทาง
จุดประสงค์นำทางนิยมเขียนในรูปแบบของจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
คือจุดประสงค์ย่อยที่แตกออกจากจุดประสงค์ปลายทางเพื่อแสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมที่คาดหวังให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน
จุดประสงค์ปลายทาง
จะเป็นจุดประสงค์ที่ไม่เจาะจงถึงรายละเอียดของพฤติกรรมที่แสดงออก
ข้อความที่ระบุถึงสิ่งที่เป็นเป้าหมายสำคัญที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียนหลังจากการเรียนในแต่ละแผนการเรียนรู้
แนวทางการเขียนจุดประสงค์
2.เขียนครอบคลุมทั้งด้านเนื้อหาความรู้ (K) ด้านทักษะกระบวนการ (P) ด้านคุณธรรมจริยธรรมหรือเจตคติ (A)
1.เขียนให้สัมพันธ์กับสาระสัมคัญ
3.เขียนให้เห็นรายละเอียดของพฤติกรรมที่สามารถวัดและสังเกตได้
4.เขียนด้วยภาษาที่รัดกุม ชัดเจน และสื่อความหมายได้
5.หากมีจุดประสงค์ข้อเดียวไม่ต้องใส่ลำดับเลขที่หัวข้อ
การเขียนเนื้อหา (Content)
เป็นองค์ประกอบที่ทำให้ครูเห็นภาพของสิ่งที่จะสอนโดยรวม มีแนวการเขียนดังนี้
2.กำหนดเนื้อหาควรให้เหมาะสมกับระยะเวลา วัย และความสามารถของผู้เรียน
3.เขียนเนื้อหาแบบย่อ โดยสรุปเป็นหัวข้อ
1.เขียนให้สอดคล้องกับสาระสำคัญและจุดประสงค์
4.เขียนเนื้อหาที่จะเรียนไว้ตามลำดับ
การเขียนกิจกรรมการเรียนรู้ (Activities)
คุณลักษณะของกิจกรรมที่มีประสิทธิผล
1.สอดคล้องกับจุดประสงค์และเนื้อหา
2.ฝึกกระบวนการที่สำคัญให้กับผู้เรียน
3.เหมาะสมกับธรรมชาติและวัยผู้เรียน
4.เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในโรงเรียนและชีวิตจริง
5.เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
แนวทางการเขียนกิจกรรมการเรียนรู้ มีดังนี้
2.เขียนเป็้นลำดับขั้นตอน แบ่งเป็นขั่นนำ ขั้นสอน ขั้นสอน ขั้นสรุป
3.เขียนโดยระบุรายละเอียดกิจกรรมแต่ละขั้นตอนใครเป็นผู้มีบทบาท
4.การเขียนกิจกรรมการเรียนรู้ควรคำนึงถึงผู้เรียนเป็นสำคัญ
1.เขียนให้สอดคล้องกับจุดประสงค์และเนื้อหา
คือสภาพการเรียนรู้ที่กำหนดขึ้นเพื่อนำผู้เรียนไปสู่เป้าหมายที่กำหนด
การเขียนสื่อการสอน (Material/Media)
สื่อการเรียนรู้คือ สิ่งที่เป็นตัวกลางที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดประสิทธิภาพ มีแนวทางการเขียนดังต่อไปนี้
3.ระบุชนิดและรายละเอียดของสื่อการเรียนรู้
4.กรณที่เป็นสื่อทำกิจกรรมเป็นกลุ่มหรือรายบุคคลให้ระบุจำนวนชิ้นต่อกลุ่ม/ต่อกลุ่ม
2.ระบุเฉพาะสื่อที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้
5.ไม่ควรระบุสิ่งที่มีอยู่แล้วในห้องอย่างถาวรเป็นสื่อการเรียนรู้ เช่น กระดาน ดินสอ ปากกา เป็นต้น
1.ระบุสื่อที่สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้
การเขียนวิธีการวัดและประเมินผลการเรียน(Assessment)
การประเมินผล เป็นการกำหนดค่าหรือตัดสินสิ่งที่วัด เช่น ผ่านไม่ผ่าน ดี ปานกลาง
การวัด เป็นการรวบรวมข้อมูลโดยใช้เครื่องมือและวิธีการวัดต่าง ๆ เช่น การสังเกต การสอบถาม
การเขียนวิธีการวัดและการประเมินผลเป็นการกระทำเพื่อตรวจสอบว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์หรือไม่
1.ระบุการวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
2.ระบุวิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ว่าจะใช้วิธีการใดบ้าง
3.ระบุเนื้อหาที่จะต้องการวัดและการประเมินผล
นางสาวศิริพร อาสาชะนา ปค.6404 รหัสนักศึกษา 647601425