Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พฤติกรรมสุขภาพ, 5-1, e_fpqruvw12359, 9ea909730cfb3baf120abbda6c8b4085,…
พฤติกรรมสุขภาพ
ความหมาย
ความเข้าใจอิทธิพลทางด้านจิตวิทยาต่อความเป็นอยู่ด้านสุขภาพ
ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคคลมีชีวิตและความเป็นอยู่ดี
แนวทัศน์สุขภาพและความเจ็บป่วย
รูปแบบทางด้านชีวแพทย์
ปัจจัยทางชีววิทยา ที่ส่งผลต่อความเจ็บป่วย
ปัจจัยทางจิตวิทยาและด้านสังคม
มุ่งเน้น การอธิบายประเด็นสุขภาพบนพื้นฐาน
รูปแบบชีว-จิต-สังคม
ความเจ็บป่วยและการดำรงชีวิตอยู่
ทฤษฎีพฤติกรรมสุขภาพ
รูปแบบความเชื่อสุขภาพ
ทฤษฎีแรงจูงใจในการรักษาสุขภาพ
ทฤษฎีเหตุผลในการปฏิบัติ
ทฤษฎีของการวางแผนพฤติกรรม
ปัจจัยทางจิตวิทยา
ผลของความเครียดโดยตรง
นิสัยที่ไม่ดีต่อสุขภาพ
ปฏิกิริยาต่อความเจ็บป่วย
ปัจจัยเสี่ยงด้านพฤติกรรม
รูปแบบชีวิตที่ส่งเสริมสุขภาพ บางคนนำไปสู่การเกิดโรค
นิสัยส่วนบุคคลในการทำลายสุขภาพ
ความเครียดในระดับสูง
ไม่ควบคุมโรคความดันโลหิต
สูบบุหรี่+ ดื่มแอลกอฮอล์+ เสพสารเสพติด+ ทานอาหารมากไป
ขาดการออกกำลังกาย
พฤติกรรมทางเพศที่ไม่ปลอดภัย
สะสมสารพิษในร่างกาย
ขาดความตระหนักถึงความปลอดภัยในชีวิต
ความรุนแรงต่างๆ
แนวทางส่งเสริมสุขภาพ
การมีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัย
สารอาหารและสุขภาพ
การออกกำลังกาย
การควบคุมน้าหนัก
งดสูบบุหรี่
ดื่มแอลกอฮอล์ระดับปานกลาง (ประมาณ1แก้ว ต่อวัน)
หลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงด้านต่างๆ
การดำรงชีวิตอย่างผาสุกและเต็มไปด้วยความสุข
การตรวจสุขภาพประจำปี
ความเครียด
อารมณ์ทางลบที่ทำให้เกิดความไม่สบายใจ
ความยากลำบากในการดำรงชีวิต
ความไม่สมดุลระหว่างความต้องการกับความสามารถ
สัญญาณเตือนความเครียด
สัญญาณทางอารมณ์
สัญญาณทางพฤติกรรม
สัญญาณทางสรีระ
สาเหตุของความเครียด
ความคับข้องใจ
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
สิ่งแวดล้อมทางสังคม
สาเหตุจากองค์ประกอบส่วนบุคคล
ความขัดแย้งใจ
ความขัดแย้งแบบต้องการทั้งคู่
ความขัดแย้งแบบไม่ต้องการทั้งคู่
ความขัดแย้งแบบมีทั้งต้องการและไม่ต้องการ
ความขัดแย้งแบบมีทั้งต้องการและไม่ต้องการในสิ่งที่เลือกทั้งคู่
ความกดดัน
ความกดดันจากการทำงาน
ความกดดันเกิดจากการไม่มีเวลาที่เพียงพอ
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิต
เกิดการเปลี่ยนแปลงในชีวิตและต้องปรับตัว
เหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดความหายนะ
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
ทำงานในสภาพแวดล้อมที่มีสารเคมีเป็นพิษ
อาศัยอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่แออัด
สิ่งแวดล้อมทางสังคม
กระตุ้นให้คนเราต้องปรับตัวอยู่ตลอดเวลา
ไม่สามารถปรับตัวได้ทัน บางครั้งก็ตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของสังคม
การจัดการกับความเครียด
การจัดการโดยตรง
การจัดการโดยใช้กลไกป้องกันตนเอง
การแสวงหาแหล่งจัดการความเครียดอย่างมีประสิทธิภาพ