Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 พฤติกรรมสุขภาพ, image, image, image, image, image, image - Coggle…
บทที่ 6 พฤติกรรมสุขภาพ
แนวทัศน์เรื่องสุขภาพและความเจ็บป่วย
ด้านชีวแพทย์
เน้นที่ปัจจัยทางชีววิทยาที่ส่งผลต่อความเจ็บป่วย
ไม่พิจารณาปัจจัยทางจิตวิทยาและสังคม
เน้นการอธิบายประเด็นบนพื้นฐานความเจ็บป่วยมากกว่าสุขภาพ
ด้านชีว-จิต-สังคม
ปัจจัยที่กำหนดความเจ็บป่วยและการดำรงชีวิตอยู่
ชีววิทยา
จิตวิทยา
สังคม
ทฤษฎีพฤติกรรมสุขภาพ
รูปแบบความเชื่อสุขภาพ
พฤติกรรมสุขภาพของบุคคลทำนายจากการรับรู้ว่าสุขภาพถูกคุกคาม
เห็นแนวทางปฎิบัติต่อพฤติกรรมสุขภาพ
ทฤษฎีแรงจูงใจในการรักษาสุขภาพ
Self Efficacy เชื่อในตนเองว่าสามารถมีพฤติกรรมสุขภาพ
ทฤษฎีเหตุผลในการปฏิบัติ
พฤติกรรมความตั้งใจ
เจตคติต่อพฤติกรรม
ความเชื่อต่อพฤติกรรมเฉพาะอย่าง
ประเมินคุณค่าจากผลลัพธ์
เกณฑ์ของบุคคลที่แวดล้อมพฤติกรรม
แรงจูงใจขึ้นอยู่กับผู้อื่น
ทฤษฎีของการวางแผนพฤติกรรม
รับรู้พฤติกรรมควบคุมตนเอง
ปัจจัยทางจิตวิทยาที่มีอิทธิพลต่อสุขภาพร่างกาย
นิสัยที่ไม่ดีต่อสุขภาพ
การสูบบุหรี่ส่งผลต่อโรคหัวใจ
ปฏิกิริยาต่อความเจ็บป่วย
ชะลอความต้องการที่จะปรึกษาแพทย์
ละเลยคำแนะนำของแพทย์
ไม่ทำตามคำแนะนำของแพทย์
ผลของความเครียดโดยตรง
ปัจจัยเสี่ยงด้านพฤติกรรม
พฤติกรรมที่เพิ่มโอกาสการเกิดโรค
การบาดเจ็บ หรือการเสียชีวิต
ความเครียดสูง
สูบบุหรี่
ดื่มเหล่า
เสพสารเสพติด
ทานอาหารมากไป
ขาดการออกกำลังกาย
พฤติกรรมทางเพศท่ีไม่ปลอดภัย
สะสมสารพิษในร่างกาย
ประมาท เช่น ขับรถเร็ว
ความรุนแรงต่างๆ
แนวทางการส่งเสริมสุขภาพ
Safe Sex
มีเพศสัมพันธ์กับคนเดียว
ใช้ถุงยางอนามัย
ลดปริมาณคู่นอน
สารอาหารและสุขภาพ
การบริโภคอาหารที่มีอิทธิพลต่อการเกิดโรคและปัญหาสุขภาพ
การออกกำลังกาย
แบบแอโรบิค
เดินเร็ว
วิ่ง
ว่ายน้ำ
ขี่จักรยาน
การควบคุมน้ำหนัก
การดื่มแอลกอฮอล์
งดสูบบุหรี่
หลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงด้านต่างๆ
รูปแบบการป้องกัน
การป้องกันในเบื้องต้น
การป้องกันทุติยภูมิ
การป้องกันขั้นที่ 3
การดำรงชีวิตอย่างผาสุกและเต็มไปด้วยความสุข
มี self esteem
ควบคุมตนเอง
มองโลกในแง่ดี
มีปฏิสัมพันธ์กับคนรอบข้าง
ตรวจสุขภาพประจำปี
ความเครียด (Stress)
ความหมาย
เป็นสภาวะทางอารมณ์ทางลบ ทำให้เกิดความไม่สบายใจ และรู้สึกตึงเครียด
กลไกการเกิดความเครียด
การประเมินขั้นปฐมภูมิ
เหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องนั้นเป็นอันตราย หรือเป็นสิ่งคุกคามหรือไม่
การประเมินขั้นทุติยภูมิ
ประเมินถึงความสามารถการจัดการกับความเครียด
สัญญาณเตือนความเครียด
อารมณ์
ความวิตกกังวล
การไม่สนใจ
หงุดหงิด
เหนื่อยใจ
พฤติกรรม
ไม่สนใจตนเอง
ตัดสินใจไม่ดี
หลีกเลี่ยงความรับผิดชอบ
มีพฤติกรรมทำลายตนเอง
สรีระ
เจ็บป่วย
ไม่มีแรง
วิตกกังวลในความเจ็บป่วย
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเครียด
ด้านชีววิทยา
เจริญอาหารลดลง
มีความอ่อนล้าของกล้ามเนื้อ
ความสนใจต่อสิ่งแวดล้อมลดลง
การตอบสนองต่อความเครียด
ระบบประสาทส่วนกลาง
ระบบประสาทซิมพาเธติก
ปล่อยฮอร์โมนอดีนาลีน ทำให้ความดันโลหิตสูง
ระบบประสาทอัตโนมัติ
เชื่อมโยงกับปัญหาโรคช่องท้อง เกิดแผลในกระเพาะอาหาร
ซีรีบรัมคอร์เทค
รับรู้ความเครียดผ่านไฮโปทาลามัส และต่อมใต้สมอง ไปถึงส่วนนอกของต่อมหมวกไต
ปล่อยฮอร์โมนคอร์ติโซน
ด้านบุคลิกภาพ
Meyer Friedman และ Ray Rosenman
บุคลิกภาพ Type A
ชอบแข่งขัน มุ่งมุ่น ใจร้อน มุ่งร้าย
บุคลิกภาพ Type B
ผ่อนคลาย ไร้กังวล
ด้านสิ่งแวดล้อม
ภัยพิบัติ
สงคราม
อุบัติเหตุ
การเสียชีวิตของคนรัก
งานมากเกินไป
ฐานะความเป็นอยู่
ด้านสังคมและวัฒนธรรม
ความเครียดจากการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรม
ความยากจน
ด้านการคิด
การแปลความหมายเหตุการณ์ในชีวิต
มีการจัดการต่อสิ่งคุกคามอย่างไร
การคิดว่าจะเผชิญกับสิ่งแวดล้อมและการใช้ชีวิตโดยรวมยังไง
สาเหตุของความเครียด
ความคับข้องใจ
ความหมาย
คือสภาวะอารมณ์ทางลบเมื่อต้องการจะทำอะไรแล้วทำไม่ได้ เพราะมีอุปสรรคมาขัดขวาง
สาเหตุที่ทำให้เกิดความคับข้องใจ
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
อากาศร้อนจัดหรือหนาวจัด
น้ำท่วม
จราจรติดขัด
สิ่งแวดล้อมทางสังคม
เพื่อนรบกวน
แม่ไม่ให้เที่ยวกับเพื่อน
แม่ไม่ให้เงิน
สาเหตุจากองค์ประกอบส่วนบุคคล
ขาดประสบการณ์
เรียนไม่เก่ง
ร่างกายไม่แข็งแรง
ปฏิกิริยาตอบสนองต่อความคับข้องใจ
แสดงความก้าวร้าว
ทำลายข้าวของ
ทำร้ายร่างกาย
เกิดการเรียนรู้ความสิ้นหวัง
ไม่ตอบโต้อุปสรรค
ถอนตัวจากเหตุการณ์
ความคับข้องใจมีความสัมพันธ์กับแรงจูงใจ
แรงจูงใจมาก -> ความคับข้องใจมาก
แรงจูงใจน้อย -> ความคับข้องใจน้อย
ความขัดแย้งใจ
ความหมาย
คืออารมณ์ทางลบเกิดจากตัดสินใจเลือกไม่ได้
และไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้
แบ่งเป็น 4 ประเภท
Approach - Approach Conflict
Avoidance - Avoidance Conflict
Approach - Avoidance Conflict
Multiple Approach - Avoidance Conflict
ความกดดัน
ความหมาย
คืออารมณ์ทางลบเกิดจากการถูกคาดหวัง
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิต
เหตุการณ์ที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
และต้องปรับตัว
การหย่า
แต่งงาน
เรียนจบ
ย้ายที่อยู่
เหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดหายนะ และความทุกข์ทางร่างกายและจิตใจ
น้ำท่วม
แผ่นดินไหว
พายุ
Posttraumatic Stress Disorder (PTSD)
ความหมาย
ความผิดปกติทางจิตเกิดจากการได้รับความกระทบกระเทือนจิตใจอย่างรุนแรงจากเหตุการณ์ในชีวิต
อาการ
วิตกกังวล
ซึมเศร้า
ก้าวร้าว
มีความทรงจำของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตลอดเวลา
หวาดกลัว และหลีกเลี่ยงเหตุการณ์ที่คล้ายคลึงกัน
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัย
อยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีสารเคมีเป็นพิษ
อยู่ในที่แออัด ไม่ถูกสุขลักษณะ
สิ่งแวดล้อมทางสังคม
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมอย่างรวดเร็วส่งผลต่อการใช้ชีวิต
เศรษฐกิจ
เทคโนโลยี
การคมนาคม
การบริโภค
ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ปรับตัวไม่ทัน
ไม่ได้รับความเป็นธรรม
ถูกเอาเปรียบ
ถูกเลือกปฏิบัติ
ธรรมชาติของความเครียด
การปรับตัวต่อความเครียด
ขั้นเตือน
มีพลังงานมากขึ้น
มีความตื่นตัวและระมัดระวังตลอดเวลา
ขั้นตื่นตัว
ร่างกายตึงเครียด
มีการหลั่งฮอร์โมนเพิ่มขึ้น
Adrenaline
Noradrenaline
Cortisone
ขั้นต่อต้าน
การกระตุ้นลดลง ร่างกายเริ่มปรับตัว
ความเครียดลงลด
ถ้าเจอความเครียดใหม่จะอดทนไม่ได้
ขั้นหมดแรง
เหนื่อยล้าและหมดพลัง
เกิดความเจ็บป่วย หรือโรคต่างๆ
แหล่งของความเครียด
แหล่งของความเครียดจากภายนอก
เหตุการณ์หรือสิ่งแวดล้อม
การเปลี่ยนแปลงในชีวิต
การรบกวนจากชีวิตประจำวัน
มหันตภัย
แหล่งของความเครียดจากภายใน
ความเชื่อที่ไร้เหตุผล
การควบคุมการรับรู้
รูปแบบเหตุผล
ลักษณะของบุคลิกภาพ
ความคับข้องใจ
ความขัดแย้ง
การกำหนดความเครียดตัวเอง
ผลของความเครียดต่อการทำงานด้านจิตใจ
การกระทำเปลี่ยนไปในทางที่เสื่อมลง
แสดงออกด้านอารมณ์อย่างสูงสุด
ความผิดปกติจากความเครียดที่รุนแรง
ปัญหาด้านจิตใจและความผิดปกติ
ปัญหาจิตกายาพาธ
การจัดการกับความเครียด
การจัดการโดยตรง ระดับจิตสำนึก
การเผชิญหน้า
การประนีประนอม
การถอนตัว
การจัดการโดยใช้กลไกป้องกันตนเอง
ระดับจิตไร้สำนึก
การจัดการทางอารมณ์
ใช้กลไกป้องกันทางจิต
ปกป้อง Ego
บิดเบือนความเป็นจริง
การจัดการปัญหา
การหาแหล่งจัดการความเครียด
สุขภาพและพลังงาน
ความเชื่อทางบวก
ทักษะทางสังคม
แรงสนับสนุนจากสังคม
เพื่อน
ครอบครัว
แหล่งสนับสนุนวัสดุต่างๆ
การควบคุมของบุคคล
การกระทำต่อต้านความเครียด
ออกกำลัง
ผ่อนคลาย
การเบี่ยงเบนความสนใจ
ดูหนัง
ฟังเพลง