Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคมะเร็งกระเพาะอาหาร (Gastric cancer), มะเร็งกระเพาะอาหาร, 244985404…
โรคมะเร็งกระเพาะอาหาร (Gastric cancer)
ความหมาย :<3:
เป็นเนื้อร้ายที่เกิดขึ้นในเยื่อบุกระเพาะอาหาร
เกิดจากการเจริญเติบโตผิดปกติและไม่สามารถควบคุมได้ของเซลล์เยื่อบุกระเพาะอาหารแพร่กระจายไปสู่อวัยวะข้างเคียง
ามารถเกิดขึ้นได้ในทุกบริเวณของกระเพาะอาหาร ซึ่งมีบางตำแหน่งที่สามารถรักษาให้หายขาดได้
พยาธิสภาพ :<3:
เริ่มเกิดจากเซลล์ที่อยู่บริเวณเยื่อบุผิวด้านใน
กระจาย
ผ่านออกมาถึงบริเวณเยื่อบุผิวด้านนอก ประมาณ 90% ของโรค
adenocarcinoma
ส่วนน้อยเป็นมะเร็งชนิดอื่นๆ
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง (gastric MALT lymphoma)
มะเร็งเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
(Gastrointestinal stromal tumor, GIST)
ลักษณะทางพยาธิสภาพของมะเร็งกระเพาะอาหารมักพบ
ได้ 4 แบบ
เป็นก้อนยื่นเข้าไปในกระเพาะอาหาร (fungating)
บางรายมี
ลักษณะเป็นแผลลึก(ulcerative)
ติ่งเนื้อนูน (polypoid)
แบบแข็งทั่วๆกระเพาะอาหาร (scirrhous) ที่เรียกว่า Linitis plastica
่มัก
ลุกลามเป็นบริเวณกว้าง
มีพยากรณ์โรค (prognosis) ที่ไม่ดี
การวินิจฉัย :<3:
การซักประวัติและอาการต่างๆ
ประวัติการรักษาที่ผ่านมา
การตรวจร่างกายทั่วไป
การเจ็บป่วย
ในอดีต
ตรวจดูลักษณะก้อนหรือสิ่งที่มีลักษณะ
ผิดปกติในช่องท้อง
ซักประวัติเพิ่มเติมเกี่ยวกับพฤติกรรม
ตรวจหาต่อมน้ำเหลืองบริเวณไหปลาร
ถามถึงปัจจัยเสี่ยง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจการทำงานของตับ (liver function test)
การทำงานของไต
(renal function test)
ตรวจวัดความเข้นข้นและความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด
(complete blood count, CBC)
การตรวจเลือดในอุจจาระ (fecal occult blood test)
การเอกซเรย์กลืนแป้ง (double-contrast barium swallow)
การส่องกล้องทางเดินอาหารส่วนบน (esophago-gastro-duodenoscope, EGD)
การส่องกล้องตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (endoscopic ultrasonography, EUS)
การตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ของช่องท้อง (computed tomography, CT)
การผ่าตัดส่องกล้องเพื่อการวินิจฉัยและนำน้ำในช่องท้องมาตรวจหาการกระจายของโรคมะเร็ง
(diagnostic laparoscopy with peritoneal washing)
การตรวจอื่นๆเพื่อหาว่ามะเร็งมีการแพร่กระจายไปยังอวัยวะอื่นๆหรือไม่
ตรวจสแกนกระดูก (bone scan/ scintigraphy)
ตรวจด้วย PET/CT
scan ซึ่งเป็นการตรวจทั่วทั้งร่างกาย
เอกซเรย์ปอด (chest x-ray)
สาเหตุ :<3:
สาเหตุที่แท้จริงยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด
ศึกษาทางด้านโมเลกุล
(molecular biology) เชื่อว่ามีความผิดปกติหลายกลไกร่วมกัน
Tumor suppressor gene
TP53 gene inactivation
TP53 gene inactivation
Proto-oncogene
FGFR2
ERBB2 overexpression
MET
DNA mismatch repair gene
MLH1
MSH2
มีการศึกษาพบว่ามีปัจจัยหลายอย่าง
อายุ
เมื่ออายุมากขึ้นก็จะมีโอกาสเป็นมะเร็งกระเพาะอาหารมากขึ้น
เพศ
พบว่าผู้ชายมีความเสี่ยงมากกว่าผู้หญิง
เชื้อชาติ
พบมะเร็งกระเพาะอาหารในชาวเอเชียมากกว่า ชนชาติอื่นๆ
ประเทศญี่ปุ่น
ประเทศในแถบภูมิภาคเอเชียตะวันออก (eastern Asia)
การสูบบุหรี่
้มีโอกาสเป็นมะเร็งกระเพาะอาหารได้สูงขึ้น
การติดเชื้อแบคทีเรีย H. Pylori
แบคทีเรียชนิดหนึ่งที่อยู่ในกระเพาะอาหาร
ทำให้มีอาการอักเสบและเกิดเป็นแผลในกระเพาะอาหาร
เพิ่มโอกาสในการเป็นมะเร็งกระเพาะอาหาร
เลือดกรุ๊ป A
มีความเสี่ยงมากกว่ากรุ๊ปอื่น ประมาณ 20%
อาหาร
อาหารหมักดอง
อาหารเค็มจัด
อาหารปิ้งย่าง
โรคอื่นๆ
กระเพาะอาหารอักเสบเรื้อรัง
โรคเลือดบางชนิด
การเจริญเติบโตผิดที่ของเซลล์ในลำไส้แทนที่เซลล์ของกระเพาะอาหาร (intestinal
metaplasia)
เนื้องอกลำไส้ที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม
โลหิตจางชนิดเม็ดเลือดแดงใหญ่
(pernicious anemia)
เนื้องอกกระเพาะอาหาร
ประวัติโรคมะเร็งกระเพาะอาหารในครอบครัว
อาการและอาการแสดง :<3:
อาการ
ระยะแรก
รู้สึกไม่สบายท้อง
รู้สึกท้องอืดหลังรับประทานอาหาร
รู้สึกว่าอาหารไม่ย่อย
รู้สึกว่าอาการแสบร้อนบริเวณหน้าอก
รู้สึกคลื่นไส้เล็ก
รู้สึกไม่อยากรับประทานอาหาร
ระยะต่อมา
รู้สึกไม่สบายท้องโดยเฉพาะช่องท้อง
ช่องท้องบริเวณส่วนบน
ช่องท้องบริเวณตรงกลาง
รู้สึกว่าขณะรับประทานอาหารมีอาการ กลืนติด หรือทานอาหารได้ลดลง อ่อนเพลีย
รู้สึกว่าน้ำหนักตัวลดลง
อาการแสดง
ระยะเริ่มแรก
อาจไม่มีอาการแสดงใดๆให้เห็น
อาจรู้สึกเหมือน
อาหารไม่ย่อยและรู้สึกไม่สบายในช่องท้อง
ท้องอืดหลังรับประทานอาหาร
คลื่นไส้เล็กน้อย
ความอยากอาหารลดลง
น้ำหนักลด
อาจมีอาการปวดแสบร้อนที่บริเวณหน้าอก
ระยะต่อมา
โรคมะเร็งเริ่มลุกลามมากขึ้น
ปวดท้อง
อาเจียน
ถ่ายอุจจาระสีดํา
นํ้าหนักลดลงอย่างมากโดยไม่ทราบสาเหต
อาจ
มีเลือดปนในอุจจาระ
บางรายมีการ
ลุกลามของโรคไปยังอวัยวะอื่นๆ
อาจมีตัวเหลือง
ตาเหลือง
ท้องบวมจากนํ้าในช่องท้อง
การรักษา :<3:
การรักษาโรคมะเร็งกระเพาะอาหารชนิดผ่าตัดได้ (Resectable gastric carcinoma)
การผ่าตัด
การผ่าตัดกระเพาะอาหาร (Total or Subtotal gastrectomy)
การผ่าตัดส่องกล้องทางหน้าท้อง (Laparoscopic gastrectomy)
การผ่าตัดเลาะต่อมน้ำเหลือง (Lymph node dissection)
การผ่าตัดส่องกล้องผ่านทางหลอดอาหาร (Endoscopic tumor removal)
การให้ยาเคมีบำบัด
การให้ยาเคมีบำบัดก่อนและหลังการผ่าตัด (Perioperative/ Neoadjuvant and adjuvant
chemotherapy)
การให้ยาเคมีบำบัดภายหลังการผ่าตัด (Postoperative/ Adjuvant chemotherapy)
การให้รังสีเคมีบำบัด
การให้รังสีเคมีบำบัดภายหลังการผ่าตัด (Postoperative/ Adjuvant chemoradiation)
การให้รังสีเคมีบำบัดก่อนการผ่าตัด (Preoperative/ Neoadjuvant chemoradiation)
การรักษาโรคมะเร็งกระเพาะอาหารชนิดผ่าตัดไม่ได้ (Unresectable gastric carcinoma)
การผ่าตัด
ไม่มุ่งหวังการรักษาแบบหายขาด การผ่าตัดก็สามารถช่วยบรรเทาอาการของผู้ป่วยได้ (palliative
surgery)
ศัลยแพทย์อาจพิจารณาผ่าตัดกระเพาะอาหารออกบางส่วนหรือทั้งหมด (subtotal หรือ total
gastrectomy)
การให้ยาเคมีบำบัด
วัตถุประสงค์เพื่อ
เพิ่ม resectability และ survival
ยังไม่มีการศึกษาใน unresectable gastric cancer ที่แสดงให้เห็นถึง
ประโยชน์ของ neoadjuvant chemotherapy ต่อการผ่าตัดอย่างชัดเจน
การฉายรังสี หรือ รังสีเคมีบำบัด
ช่วยลดขนาดก้อนมะเร็ง
ทำให้สามารถผ่าตัดได
การตรวจติดตามหลังการรักษา
ดูแลผลข้างเคียงที่เกิดขึ้นจากการรักษา
ประเมินผลการรักษา
การตรวจติดตามผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง
ภาวะแทรกซ้อน :<3:
เลือดออกในทางเดินอาหาร จากภาวะเส้นเลือดที่หลอดอาหารโป่งพอง
ดีซ่านจากภาวะตับโต หรือท่อน้ำดีอุดตัน
การอุดตันของกระเพาะอาหารส่วนปลาย รอยต่อหลอดอาหารและกระเพาะอาหาร หรือลำไส้เล็ก
อ่อนเพลียจากการขาดสารอาหาร
น้ำในช่องท้อง หรือท้องมาน และน้ำในเยื่อหุ้มปอด
ภาวะผอมหนังหุ้มกระดูกที่เป็นผลมาจากเนื้อร้าย