Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาระงับปวด ลดไข้ ต้านการอักเสบ สารนำและสารอาหารทางหลอดเลือดดำ - Coggle…
ยาระงับปวด ลดไข้ ต้านการอักเสบ
สารนำและสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
สารนำ้และสารอาหารทาง
หลอดเลือดดำ
สารนำ้
สารนน้ำเพื่อเพิ่ม plasma volume
Dextran
-ภาวะช็อคเพิ่มการไหลเวียน
-ทดแทนการเสียเลือดขณะรอ
สารนำ้ที่ช่วยแก้ไขภาวะ ไม่สมดุลของน้ำ
Dextrose
รักษาน้ำตาลในเลือดต่ำ หรือเพื่อทดแทนแคลอรี
สารน้ำให้เพื่อทดแทน Potassium
Potassium chloride
-ดูแลอย่างใกล้ชิดใน 5 นาทีแรก
-จับชีพจรดูความผิดปกติ
-สอบถามการเจ็บที่หลอดเลือด
-ติดตามผลlab ตามแพทย์สั่ง
-ตรวจสอบการไหลเวียนของน้ำ ที่มี KCl อยู่สม่ำเสมอ
สารอาหาร
ข้อบ่งชี้
-ระบบทางเดินอาหารไม่ทำงาน (non functioning GI tract)
-ต้องการให ้ระบบทางเดินอาหารได้พัก (bowel rest)
-ผู้ป่วยมีภาวะทุพโภชนาการอย่างรุนแรง (Severe malnutrition) หรือhypercatabolic state และไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้มากกว่า 5 วัน
ข้อพิจารณา
-ความต้องการของสารอาหารที่ผู้ป่วยควรได้รับไม่แตกต่างจากวิธีให้ทาง ปาก ควรได้รับ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน วิตามิน น้ำ เกลือแร่
-ต้องมีการคำนวณความต้องการพลังงานและสารอาหารต่าง ๆ
เลี้ยงการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการให็TPN
เเบ่งได้ 2 ประเภท
-
แบบบางส่วน
ให้อาหารเสริมในผู้ป่วยที่ได้อาหารทางปากหรือทางสายอาหารแต่ไม่เพียงพอ
-
เเบบสมบูรณ์
ให้อาหารครบถ้วนให้ทางหลอดเลือดดำเท่านั้น
Eicosanoids
ประโชน์ชทางคลินิค
-ใช้ช่วยในการทำคลอด และทำแท้ง
-ใช้เป็นยารักษาโรคแผลในกระเพาะอาหาร
-ใช้คงการเปิดของหลอดเลือด ductus arteriosus ในเด็กแรก
-คลอดที่ปัญหาต้องผ่าตัดเพื่อการรักษาโรคหัวใจ
-ใช้รักษาโรคต้อหิน
coxibs
-ยับยั้งเฉพาะ COX-2
-ระงับปวด ลดไข้ ต้านการอักเสบ
แต่มีฤทธิ์ข้างเคียงต่อทางเดินอาหารน้อยกว่า
-Celecoxib
-Etorecoxib
-Parecoxib
NSAIDs
ผลข้างเคียงจากการใช้ยา
-ปวดศีรษะ หูอื้อ มึนงง
-ของเหลวคั่ง ในร่างกาย (fluid retention)
-บวม ความดันโลหิตสูง
-คลื่นไส้ อาเจียน
-ปวดท้องแผลในกระเพาะอาหาร
-หอบหืด ผื่นคัน พิษต่อไต
ยาต้านการอับเสบไม่ใช่สเตอรอยด์
-Indomethacin
-Diclofenac
-Ibuprofen
-Mefenamic acid
-Piroxicam
ข้อบ่งใช้
-Anti-inflammatory effect
-Analgesic effect
-Antipyretic effect
กลไกลการออกฤทธิ์
ยับยั้งการสร้าง prostaglandin ด้วย การยับยั้ง เอนไซม์ COX
เภสัชวิทยา
-ฤทธิ์ต้านการอักเสบ (anti-inflammatory effect) ระงับปวด (analgesic effect) ลดไข้ (antipyretic effect)
-ระคายเคืองกระเพาะอาหาร พิษต่อไต
-การใช้ระยะยาว (5 ปี/มากกว่า) NSAIDs รวมทังaspirin) ลดความเสี่ยงมะเร็งลำไส้ใหญ่
ยาแก้ปวด-ลดไข้
(Analgesic-Antipyretics)
Aspirin
(acetyl salicylic acid, ASA)
ฤทธิข้างเคียงและพิษ
-คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน และแผลในกระเพาะอาหาร (เกิดจากการยับยั้ง COX-1ที่กระเพาะอาหาร)
-พิษอย่างอ่อน ทำให้เกิด salicylism (หายใจเร็วและแรง มึนงง ปวดศีรษะ หูอื้อ สับสน ชัก)
-พิษรุนแรง ภาวะสมดุลกรด-ด่างของร่างกายเสีย
-ใช่ในเด็กที่มีไข้จากเชื่อไวรัส ทำให้เกิด Reye's syndrome [มีอาการทาง
-สมองเนื่องจากพิษต่อตับ (hepatic encephalopathy)] พิษต่อไต แพ้ยา
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการสังเคราะห์ prostaglandins ด้วยการยับยั้งเอนไซม์cyclo-oxygenase (COX) ทั้งชนิด COX-1 และ COX-2
อยู่ในกลุ่ม salicylates
-ใช้รับประทาน ชนิดใช้ภายนอก เช่น methyl salicylate และ salicylic acid
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
-ฤทธิ์ระงับปวด ลดไข้และต้านการอักเสบ (anti-inflammatory effect) – ใช้ขนาดสูง
-ฤทธิ์ต้านเกล็ดเลือด (antiplatelet)
-ยับยั้งการเกาะกลุ่มของเกล็ดเลือด
-ฤทธิ์ ขับกรดยูริกออกทางปัสสาวะ (uricosuric effect)แต่ ในขนาดต่ำจะลดการขับกรดยูริก
Paracetamol (Acetaminophen)
ต่างจาก aspirin
-ฤทธิ์ต้านการอักเสบต่ำ
-ฤทธิ์ระคายเคืองกระเพาะอาหารตำ่
-ไม่มีฤทธิ์ต่อเกล็ดเลือด และสมดุลกรด-ด่างของร่างกาย
-ไม่มีฤทธิต่อการขับกรดยูริก
ถูกทำลายที่ตับด้วย cytochrome P450 ได้สารที่มีพิษต่อตับ
-ในขนาดปกติ สารพิษที่เกิดจะถูกทำให้หมดฤทธิ์ด้วยสารglutathion
-ในร่างกายในขนาดสูง หรือภาวะขาด glutathioneจึงจะเกิดพิษต่อเซลล์ตับ
-วิธีแก้ไขพิษ: ให้ N-acetylcysteine (NAC) ซึ่งเป็นสารเริ่มของglutathione
Rheumatoid arthritis
Antirheumatic Drugs
Disease-Modifying Antirheumatic
Drugs (DMARDs)
กดภูมิ
คุ้มกันแบบไม่เฉพาะเจาะจง
NSAIDs
มีผลต่อกระบวนการอักเสบมากกว่าglucocorticoids หรือNSAIDs แต่มีพิษมากกว่า
ใช้ในผู้ป่วยระยะ
active & progress ชะลอbone(joint & cartilage) damage
-
Salfasalazine
-Immunosuppressants
:Methotrexate, Azathioprine and Cyclosporine
Analgesics และ
Anti-inflammatory Drugs
NSAIDs
(เช่น Indomethacin, diclofenac, ibuprofen)
Glucocorticoids
(เช่น prednisolone)
ใช้ระงับอาการ
ไม่หยุดการดำเนินโรค ชะลอความรุนแรง
steroids
มีฤทธิ์ข้างเคียงและพิษสูง ไม่ควรใช้ระยะยาว
Biologic Response
Modifiers (BRMs)
กดภูมิคุ้มกัน
แบบไม่เฉพาะเจาะจง
TNFα inhibitors
: Etanercept, Infliximab and adalimumab
Co-stimulation modulators
: Abatacept
Gout
Uric acid Synthesis inhibitor
Allopurinol
ยับยั้งการสังเคราะห์
ฤทธิข้างเคียง
-คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน
-ผื่นแพ้ตามผิวหนัง
-อาจจะเกิด cataract หรือต้อกระจก
ข้อบ่งใช้
-ป้องกันโรค gout colchicine หรือ NSAIDs
-ป้องกันการเกิด hyperuricemia
-ในผู้ป่วยที่ได้รับยามะเร็ง
NSAIDs
-นิยมคือใช้
indomethacin
ระงับอาการกำเริบทันทีหรือใช้ร่วมกัน colchicine
-NSAIDs อื่นๆ ใช้ได้ยกเว้น aspirin
Corticoteroids
Prednisolone
ผู้ที่ใช้ NSAIDs/colchicine ไม่ได้
Uricosuric Agents
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้ง การดูดกลับของกรดยูริคที่ท่อไต
Probenecid
ป้องกันโรค ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีประวัติเป็นนิ่วในท่อไต
ฤทธิ์ข้างเคียง
-ระคายเคืองทางเดินอาหาร ผื่นแพ้ตามผิวหนัง
-นิ่วในทางเดินปัสสาวะ
Colchicine
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
-ไม่มีผลต่อการขับกรดยูริกออกทางปัสสาวะ
-กลไกการออกฤทธิ์: ยับยััง การทำงานของเม็ดเลือดขาว และการสร้าง leukotriene B4
-มีฤทธิ์ระงับอาการปวดจากโรคเกาส์เท่านั้น
ฤทธิข้างเคียง
ท้องเดิน คลื่นไส้ อาเจียนผมร่วง กดไขกระดูก
ข้อบ่งใช้
-กรณีเกิดอาการปวดข้อเกาส์อย่างเฉียบพลัน(acute gouty arthritis)-ป้องกันการเป็นซ่ำ