Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สังคมชนบท และ สังคมเมือง ของไทย - Coggle Diagram
สังคมชนบท
และ
สังคมเมือง
ของไทย
ความหมาย
ทัลคอตต์ พราร์สันส์
กลุ่มคนที่มารวมกันอยู่ในอาณาจักรเดียวกัน
เพื่อร่วมทำกิจกรรมของกลุ่ม
เบลน อี.เมอร์เคอร์
กลุ่มคนที่มีความสัมพันธ์กัน
อาศัยในที่เดียวกัน
มีวัฒนธรรมร่วมกัน
ร่วมโครงสร้างเดียวกัน
แสดงออกแบบเดียวกัน
มีเอลักษณ์เฉพาะ
สังคมชนบท
ลักษณะ
เชิดชาย เหล่าหล้า
ชนบท คือ ที่ซึ่งประชาชนอาศัยอยู่นอกเมืองใหญ่ ๆ
อยู่ตามสวน / ป่า / ไร่ / ท้องนา
แฟร์ไชลด์
ชุมชนชนบท คือ บริเวณที่คนมี่ความสัมพันธ์แบบคุ้นเคย
กว้างขวาง
วิถีชีวิตคล้ายกัน
สรุป : ชาวโลกส่วนใหญ่เป็นชาวชนบท / ประชากรโลกครึ่งหนึ่งอยู่ในเขตชนบท
ที่ตั้งลักษณะทางนิเวศ
อยู่ไกลความเจริญ / เขตศูนย์กลาง / ตั้งอยู่ในทำเลโดดเดี่ยว
ตั้งอยู่ตามแนวธรรมชาติ / ที่อำนวยการใช้ชีวิต เช่น ริมน้ำ
ตั้งอยู่ตามแนวเส้นทางคมนาคมสมัยใหม่ เช่น แนวถนน
ลักษณะที่อยู่อาศัย/
การสร้างบ้านเรือน
วัสดุก่อสร้างจากธรรมชาติ เช่น ไม้ไผ่ ไม้เนื้อแข็ง หญ้า ฟาง ดิน หิน
แปลน / แบบบ้าน > มีโครงแบบง่าย ๆ คล้ายๆเหมือนๆกัน
บริเวณบ้านกว้าง ขยายตัวของบ้านแนวนอน เพราะพื้นที่เยอะ
บ้านจะอยู่กันเป็นกลุ่ม
ละแวกบ้านล้อมรอบธรรมชาติ
ข้อสังเกต
ลักษณะทั่วไปของชุมชนชนบท
ตั้งบ้านเรือน : ตามสถานภาพแวดล้อมธรรมชาติ
ครอบครัว แต่งงาน : ครอบครัวขยาย มีขนาดใหญ่ เช่น พ่อ แม่ ลูก เครือญาติ
ถ้าไม่อยู่บ้านเดียวกัน ก็จะอยู่บริเวณเดียวกัน
อาชีพ : เพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ อาศัยน้ำจากธรรมชาติ
ศาสนา : ร้อยละ 95 นับถือพุทธ
วัดเป็นศูนย์กลางกิจกรรม
ความเชื่อโชคลาง สิ่งศักดิ์สิทธิ์ : ผูกพันกับธรรมชาติ / มีอิทธิพลความรู้สึกนึกคิดและดำรงชีวิต
ปกครอง : การควบคุมสังคมที่สำคัญ มาจาก
เคร่งควิถีประชา / จารีต / นิสัยโอบอ้อม / ช่วยกันและกัน
สังคมเมือง
ลักษณะ
ธีโอดอร์ แคพโลว : บริเวณที่มีพลเมืองหนาแน่น
เจริญ
เป็นศูนย์กลาง
ไทยถือว่าชุมชนที่อยู่ในเขตเทศบาล = ชุมชนเมือง
สรุป : ชุมชนในเขตเทศบาลประชากรหนาแน่น (2500 คน/หน่วย) เป็นศูนย์กลางความเจริญ
ด้านปกครอง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
ขยายตัวกว้างเมื่อศตวรรษที่ 18 เพราะก้าหน้าทางอุตสาหกรรม
ที่ตั้งลักษณะทางนิเวศ
ตั้งที่ทำเลสะดวกด้านคมนาคม ศูนย์กลางไปจังหวัดอิ่น
ตั้งในเขตล้อมรอบอุดมสมบูรณ์
สร้างขยายตามทฤษฎีผังเมือง เช่น ทฤษฎีรูปดาว ทฤษฎีรูปวงกลม ทฤษฎีหลายศูนย์กลาง
ลักษณะที่อยู่อาศัย/
การสร้างบ้านเรือน
วัสดุก่อสร้างดัดแปลงด้วย เทคนิคทางวิทยาศาสตร์ แข็งแรง เช่น ปูน อิฐ ไม้อัด เซลโลกรีต
ก้าวหน้าด้านวิศวะและสถาปัต ทำให้ สิ่งก่อสร้างแตกต่าง สวย
เพื่อเหตุผลทางธุรกิจ และ เกียรติยศ = ดึงดูดคน
สร้างสร้างในพื้นที่จำกัด คำนึงประโยชน์
ขยายแนวดิ่ง เพราะ พื้นที่จำกัด
เป็นศูนย์กลางคมนาคม สามารถกระจายไปเขตอื่นๆ
สิ่งก่อสร้างและอาคารแออัด
ไม่มีที่ว่างนอกจากสนาม สวนสาธารณะ ( คนสร้างขึ้นมา)
ลักษณะทั่วไปของชุมชนเมือง
เมืองอยู่ในการปกครองของเทศบาล
ทั้งเทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลตำบล
สัดส่วนเพศ ชายมากกว่าหญิง / วัยรุ่นมากกว่าคนแก่และเด็ก เพราะเข้ามาทำงาน
เป็นศูนย์กลางการค้า การปกครอง มากกว่าศูนย์กลางอุตสาหกรรม
เพราะอุตสาหกรรมจะอยู่นอกเมือง = นิคมอุตสาหกรรม
บ้านเริอนแยกกันเป็นเขต เช่น เขตศูนย์กลางการค้า
เป็นครอบครัวเดียว สมาชิก 5-6 คน
รายได้มาจากประเภทค่าจ้าง เฉลี่ย 30,000 ต่อปี ยกเว้น กทม. รายได้สูงกว่าเขตอื่นเล็กน้อย
เจริญทางวัตถุมากกว่าชนบท
การขยายตัวของเขตเมืองในไทย
ได้แก่
ด้านประชากร
ด้านการศึกษา
ด้านท่องเที่ยว
ขยายตัวรวดเร็วใน 20 ปีที่ผ่านมา ประชากรเพิ่มขึ้น
พ.ศ. 2503 ประชากรเพิ่ม 10 เมือง
พ.ศ. 2513 ประชากรเพิ่ม 19 เมือง
ร้อยละประชากรสูงกว่า กทม. เช่น
นครราชสีมา พิษณุโลก อุดรธานี หาดใหญ่ เป็นต้น
สาเหตุการขยายตัวของเขตเมืองในไทย
การเพิ่มของประชากร
การขยายขอบเขตบริเวณที่เป็นเมือง
ความแตกต่างระหว่าง
ชนบท
และ
เมือง
ภูมิประเทศ , สภาพแวดล้อม เมืองล้อมรอบสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น ตึก
ชาวชนบทผูกพันกับธรรมชาติ / ชาวเมืองไม่ต้องอาศัยธรรมชาติ เช่น ฝนตกน้ำจะท่วม
ชาวชนบทใกล้ชิดธรรมชาติ ทำให้สุขภาพแข็งแรง / เมืองต้องเผชิญกับมลพิษ เช่น อากาศเสีย ส่งผลต่อสุขภาพ
อาชีพ ชาวชนบทประกอบอาชีพแบยเกียวกัน เช่น ภาคใต้ปลูกยาง / เมืองประกอบอาชีพต่างกัน เช่น ข้าราชการ นักธุรกิจ
ความแตกต่างทางสังคม
ชนบทมีกลุ่มน้อย กลุ่มปฐมภูมิเป็นเกษตร
เมืองมีความแตกต่างทางสังคมมาก เพราะรวมคนจากที่ต่าง ๆ
การแบ่งชั้นทางสังคม
ชนบทแตกต่างน้อย
เมืองแตกต่างมาก รวยที่สุด จนที่สุด
การเคลื่อนย้ายทางสังคม
ชนมบท รักถิ่น ไม่ค่อยอพยพ ถ้าอพยพจะเป็นแบบแนวราบ
9.
10.
11.
13.
14.
4.ลักษณะค่านิยมของสังคม
ประเภทของค่านิยม
สาโรช บัวศรี
2.1
1.
2.
2.2
1.
2.
2.3
1
2.
3.
4.}
ค่านิยมพื้นฐาน 5 ประการ
1.
2.
3.
4.
5.
ความสำคัญของค่านิยม
1.
2.
3.
4.
5.
หน้าที่ของค่านิยม
1.
2.
3.
ค่านิยมของสังคมไทย
1.
2.
3.
ลักษณะ
ค่านิยมของสังคมไทย
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
12.
13.
สถาบันทางสังคม
สถาบันครอบครัว
ความหมาย
หน้าที่
1.
2.
3.
4.
5.
6.
2.สถาบันการศึกษา
ความหมาย
หน้าที่
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
3.สถาบันการศาสนา
ความหมาย
หน้าที่
1.
2.
3.
4.
สถาบันพระมหากษัตริย์
ความหมาย