Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีที่ใช้ในการวิเคราะห์บริบทความร่วมมือทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม…
ทฤษฎีที่ใช้ในการวิเคราะห์บริบทความร่วมมือทางการเมือง เศรษฐกิจ
สังคม ในภูมิภาคเอเชีย (2)
ทฤษฎีที่ใช้ในการวิเคราะห์ความร่วมมือทางการ
เมืองทฤษฎีดุลแห่งอำนาจ
(Balance of Power)
ทฤษฎีพึ่งพิง (Dependency Theory)
รัฐปริมณฑล (Periphery) ประเทศกำลังพัฒนา
รัฐแกนกลาง (Core) ประเทศที่พัฒนาแล้ว
เข้ามากอบโกยผลประโยนชน์จาก
ทฤษฎีระบบโลก (World System Theory)
เน้นการอธิบายความขัดแย้ง
ประเทศศูนย์กลาง (Core)
ประเทศกึ่ง
ปริมณฑล (Semi-periphery) ประเทศ
อุตสาหกรรมใหม
กอบโกย
ประเทศปริมณฑล (Periphery)
กอบโกย
แนวคิดพาณิชยนิยม (Mercantilism)
สร้างความมั่งคั่งของตนเองด้วยการเน้นส่งออก ลดนำเข้า
แนวคิดการปกป้องทางการค้า (Protectionism)
แนวคิดการปกป้องแบบใหม่ (New
Protectionism) กีดกันทางการค้า
มาตรการด้านสิ่งแวดล้อม
มาตรการด้านแรงงาน
มาตรการ
ด้านสิทธิมนุษยชน
มาตรการด้านคุณภาพสินค้า
ใช้มาตราการทางภาษี ตั้งภาษีนำเข้าสูง
เน้นการถ่วงดุลอำนาจ ต่างฝ่ายต่างยำเกรงอำนาจกัน ไม่เกิดสงคราม
ทฤษฎีรัฐที่อาจเป็นผู้นำ
กลุ่มภูมิภาคทางการทูต
รัฐผู้นำได้รับเกียรติภูมิผ่านการเป็นเจ้าภาพประชุมต่าง ๆ รวมทั้งเป็นที่ตั้งของสถาบันกลาง
มีเสียงมากขึ้นในเวทีระหว่างประเทศ
ต้นทุนต่ำ
กลุ่มภูมิภาคทางการเงิน
รัฐผู้นำมีต้นทุนที่ค่อนข้างสูง
เป็นผู้จัดหาการสนับสนุนทางการเงิน
อิทธิพลรัฐสมาชิกที่เพิ่มมากขึ้น ส่งเสริมเกียรติภูมิของชาติ
กลุ่มภูมิภาคทางการค้า
รัฐผู้นำมีต้นทุนสูง
ต้องเป็นผู้นำเข้า รักษาการเปิด
ตลาดให้กับผลผลิตส่วนเกินจากรัฐสมาชิก
แนวคิดสถานะ
ดุลแห่งอำนาจและการเมืองเชิงอำนาจ ระหว่างรัฐที่แย่งชิงความเหนือกว่าทั้งในระดับโลกและระดับภูมิภาค
รัฐอำนาจเหนือ รัฐเพียงหนึ่งเดียวมีอำนาจเหนือรัฐทั้งปวงใน ระเบียบระหว่างประเทศ ได้รับผลประโยชน์สูงสุด
รัฐมหาอำนาจ มีอำนาจสามารถสร้างอิทธิพลต่อรัฐอื่นแต่น้อยกว่า รัฐอำนาจเหนือ
รัฐอำนาจกลาง เป็นรัฐเป็น
อำนาจรองหรืออำนาจอันดับสอง แต่ยังมีกแต่มีความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ
รัฐอำนาจน้อย รัฐไร้อำนาจ จำต้องยอมรับระเบียบระหว่างประเทศที่ดำรงอยู่
อาณานิคม อำนาจน้อยที่สุด ไม่ได้รับเอกราช ไม่มีสิทธิมีเสียงในประชาคมโลก
ทฤษฎีการรวมกลุ่มระหว่างประเทศ
ใช้โครงสร้างขององค์กรใหม่ มีลักษณะเป็น “รัฐเหนือชาติ”
ทฤษฎีพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันระหว่างประเทศ
ประเทศในปัจจุบันมีลักษณะการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน แม้ไม่เท่าเทียมกันแต่โลกทั้ง
โลกก็ต้องพึ่งพาอาศัยกัน
ทฤษฎีบูรณาการทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
สนับสนุนให้มีการรวมกลุ่มกันเพื่อสร้าง
ความร่วมมือในทางเศรษฐกิจ
5 ขั้นการบูรณาการทางเศรษฐกิจ
ความร่วมมือจัดตั้งเขตการค้าเสรี
สหภาพศุลกากร (Custom Union)
ตลาดร่วม (Common Market)
สหภาพทางเศรษฐกิจ (Economic Union)
สหภาพการเมือง (Political Union)
นายเศรษฐพล เมืองเกษม 6113120029 สาขาวิชาสังคมศึกษา กลุ่ม 1