Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Sensory and Special Senses II - Coggle Diagram
Sensory and Special Senses II
องค์ประกอบของการรับความรู้สึกพิเศษ
(The components of special sensory)
ตวลัวรับความรู้สึก (Sensory receptor) และเซลล์รับความรู้สึกตวั ที่ 1หรือ First order neuron
เส้นประสาทสมอง (Cranial nerve)
เซลล์ประสาทที่ 2 และ 3
(Second/Third order neurons)
เปลือกสมองรับความรู้สึกส่ วนปฐมภูมิ
(Primary sensory cortex)
การมองเห็น
(Vision)
ดวงตามนุษย์เปรียบเสมือนกล้องถ่ายภาพเนื่องจากมีส่วนประกอบและลกั ษณะการทางานท่ีคล้ายกัน
แสง~> Cornea (กระจกตา)~> Pupil(รูม่านานตา) ~>Lens(เลนส์ตา)~>Retina (ฉากรับภาพ)~> ภาพจริงหัวกลบั ขนาดเลก็ กว่าวัตถุ
Rods (เซลล์รับแสง) ที่มีลกั ษณะเป็นแท่งยําวๆ ไวแสงมํากกระจํายอยบู่ริเวณรอบนอกFovea มีจํานวนประมําณ100ลํา้นอนัrodsจํานวน หลํายพนัตวัถูกต่ออยกู่บัเสน้ประสําท1เสน้จึง ทําใหค้ วํามคมชดั ของกํารมองเห็นต่ํามําก จะไม่ ปรํากฏสีต่ํางๆ ในระบบของ rods จะเห็นเป็น เพียงขําว-ดําเท่ําน้นั
Cones (เซลล์รับสี) ซ่ึงจะเริ่มทํางํานเมื่อไดร้ ับ แสงกํารมองเห็นสีต่ํางๆข้ึนอยกู่ บั กํารทํางํานของ Conesถํา้Conesท้งั3กลุ่มทํางํานพร้อมกนัเท่ํา ๆกนัจะมองเห็นเป็นแสงสีขําวหรือไม่มีสีถํา้ Cones ตวั ใดตวั หน่ึงเสียไปจะทําใหเ้ กิดตําบอดสี
การได้ยิน (Hearing)
หูมีรูปร่างคล้ายใบพดั มีขนาดไม่ใหญ่มาก ต้ังอย่ขู นาบสองข้างของใบหน้าทาหน้าที่หลกั ในการได้ยินและเกยี่ วข้องกบั การทรงตวั
หูชั้นนอก ใบหู (Pinna) → ช่องหู (Auditory canal) → แก้วหู หรือ เยื่อแก้วหู (Ear drum)
หูชั้นกลาง ท่อยสู เตเชียน (Eustachian tube) → กระดูกค้อน (Malleus) → กระดูกทั้ง (Incus) → กระดูกโกลน (Stapes)
หูชั้นใน คอเคลีย (Cochlea) → ช่องเซมิเซอร์คิวลําร์ (Semicircular canal)
เซลล์ขน(Hair Cells)เป็นตวั รับกระตุน้ ของเสียงโดนเซลล์ขนที่ฐานคอเคลียทําหนํา้ ที่รับเสียงสูงและปลํายท่อทําหนํา้ ที่รับเสียง
แลบบิรินท์ (Vestibular labyrinth) อวัยวะรับกํารทรงตัว
หินปนู (Otolith) เกําะอยู่ระหว่างคอเคลียกบั ประสําทกํารทรงตวั เพื่อช่วยในกํารเคลื่อนไหวศีรษะตํามแรงโนม้ ถ่วงของโลก
Sound
(Air pressure waves)
Hair cells (Receptors)
Auditory nerve (Primary afferents)
Cochlear nucleus (Brainstem/ Spinal cord nuclei)
Medial geniculate
body (Thalamus)
Primary auditory cortex
การทรงตัว (Balance)
การควบคมุ รักษาสมดลุ การทรงตวั และเคลื่อนไหวขึน้อยู่กบัองค์ประกอบดงันี้
Vestibular apparatus (หู)
Eyes (ตา)
Posterior column of spinal cord
(ไขสันหลัง )
Cerebellum (สมองซีรีเบลลมั )
หูชั้นในที่ช่วยในการทรงตัว (Vestibular apparatus หรือ Semicircular canals)
ทาหน้าที่ควบคมุ การทรงตัวหากมีการ เคลื่อนไหวของศีรษะอย่างกะทันห
หูส่วนที่รับรู้การเคลื่อนไหวแบบหมุน(ความเร่งเชิงมุม) คือหลอดกึ่งวงกลม (Semicircular ducts)
หูส่วนที่รับรู้การเคลื่อนไหวตามแนว XY (ความเร่งเชิงเส้น) คือ Sacculeทําหนํา้ที่รับรู้กํารเคลื่อนไหวแนวต้งั (แกนY)
Utricle ทําหนํา้ ที่รับรู้กํารเคลื่อนไหวแนวรําบ (แกน X)
การรับรส (Taste)
ทาหน้าที่เกยี่วข้องกบัการรับรส Insular cortex
ทาหน้าที่ในการแสดงความรู้สึกเมื่อมีการ รับรส คือ Limbic system
การได้กลิ่น(Smell)
อวยั วะท่ีทาหน้าที่เกี่ยววกับ การได้กลนิ่ คือ จมูก (Nose)
บริเวณที่เกี่ยวกับการได้กลิ่นอยู่ที่บริเวณโพรงจมูกส่วนบน เรียกว่า Olfactory epithelium
การแบ่งชนิดของตัวรับความรู้สึก
1)แบ่งตามรูปร่างทางจุลกายวิภาคศาสตร
•Freenerveendings (ปลายเปลือย) Pain, Thermal etc
• Freenerveendings (ปลายเปลือย) Pain, Thermal etc.
• Encapsulatednerveendings (ปลายเป็ นกระเปาะแคปซูล) Corpuscle of Touch
•Sensory cells (เซลล์เฉพาะ) Receptor cell in Eye,
•Peripheralcells (เซลล์ประสาทส่ วนปลาย)
2) แบ่งตามตาแหน่งตัวรับหรือตามหน้าที่
•Exteroceptor:สิ่งเร้าอย่ภู ายนอกเช่นความร้อน/เยน็ ,สัมผสัเจ็บปวด
•Exteroceptor:สิ่งเร้าอย่ภู ายนอกเช่นความร้อน/เย็น
•Telereceptor:สิ่งเร้าอย่หู่างจากตัวรับได้แก่กลนิ่ แสงเสียง
• Proprioceptor : ตาแหน่งของร่างกาย ความรู้สึกในขณะท่ีมีการเคลื่อนไหว (กล้ามเนื้อ, เอน็ , ข้อต่อ)
3) แบ่งตามชนิดของตัวกระตุ้น
•Mechanoreceptor:พลังงานกล
•Thermoreceptor:อณุหภูมิ
•Chemoreceptor:เคมี
• Photoreceptor:แสง
• Nociceptor:ตัวรับสิ่งกระตุ้นที่อาจเป็นอนั ตรายเช่นความเจ็บปวด
ชนิดของการรับรู้ทางประสาทสัมผสัส
Superficialsensation:ประสาทสัมผสัการรับรู้แบบพื้นผิว(รับรู้ผ่านทางผวิหนัง)
Deep sensation : ประสาทสัมผสั การรับรู้แบบลกึ (รับรู้ผ่านทางกล้ามเนื้อและข้อต่อ)
Visceral sensations : ประสาทสัมผสัการรับรู้ที่เกี่ยวข้องกับช่องท้อง
Special senses : ประสาทสัมผสั การรับรู้
Special senses : ประสาทสัมผสั การรับรู้
Perception : การรับรู้
Modulation : แปลงสัญญาณ
Transmission : ส่งสัญญาณ
Transduction : แปลสัญญาณ
ระบบประสาทรับความรู้สึกทางกาย (Somatosensory system)
Referred pain
อาการปวดต่างที่เป็นความเจบ็ปวดต่างที่จากส่วนร่างกายซึ่งได้รับสิ่งเร้าอันก่อความเจบ็ปวดเช่น อาการปวดใจ
Spinothalamic tracts
การรับรู้ความรู้สึกจากกล้ามเนื้อลาย เอน็ และข้อต่อเพ่ือส่งไปประมวลผลที่สมอง มี ความสาคญัเกยี่วกบัการทรงตัว
Nerve fibers and Pain
•Fast pain (เจ็บ) หรือ First pain เหนี่ยวนาบน A-delta fiber บอก ตาแหน่งได้ เช่น Pricking pain, Sharp pain, Electric pain
• Slowpain(ปวด)หรือSecondpainเกิดชา้ ๆอยนู่ านบอก ตาแหน่งแน่นอนไม่ได้ เหน่ียวนาบน C-fiber บอกตาแหน่งได้ เช่น Dull, Burning, Throbbing, Itching pain
Sites of Pain origin
• Somaticpainเป็นอาการปวดที่มาจากผิวหนัง , กระดูก, กลา้มเน้ือ, เอน็ ข้อต่อ เป็นต้น
• Visceralpainเป็นอาการปวดที่มาจากอวยัวะภายใน เช่น หวั ใจ, ปอด, ระบบทางเดินอาหาร และระบบ สืบพนัธุ์
• Neuropathicpainเป็นอาการปวดที่มาจากโรค ปลายประสาทเสื่อม
คุณสมบัติทั่ว ไปของตัวรับความรู้สึก (Common characteristics of receptor)
Threshold: ปริมาณของสิ่งเร้าหรือแรงกระตุ้นที่น้อยที่สุดทำให้เกิดความรู้สึก
Adaptation :การปรับตัวของตัวรับความรู้สึก
Receptive fields : ตัวรับหนึ่ง ๆ จะตอบสนองต่อแรงทกี่ ระทาบนพืน้ ผิวเฉพาะ ในบริเวณขอบเขตทมี่ ีปลายประสาทรับความรู้สึกกระจายอยู่
Two-point discrimination threshold : ระยะห่างของจดุ กระต้นุ ที่น้ออยที่สุด ที่ สามารถบอกได้ว่ามกีารกระต้นุ 2ตาแหน่งใช้สาหรับวดัระยะห่างของReceptivefields