Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีที่ใช้ในการวิเคราะห์บริบทความร่วมมือทาง การเมือง เศรษฐกิจ สังคม…
ทฤษฎีที่ใช้ในการวิเคราะห์บริบทความร่วมมือทาง
การเมือง เศรษฐกิจ สังคม ในภูมิภาคเอเชีย (1)
Neo-realism (สัจนิยมใหม่)
ถ่วงดุลอำนาจเพื่อรักษาผลประโยชน์
ของตนเป็นหลัก
หากยังได้ผลประโยชน์จากการรวมตัวกันก็ยังคงอยู่
หากเสียผลประโยชน์ก็สิ้นสุด
Constructivism (โครงสร้างนิยม)
รวมตัวกันก็เพราะต้องการสร้างโครงสร้าง
ของภูมิภาคให้มีเอกลักษณ์ร่วมกัน
ให้ความสำคัญกับโครงสร้าง องค์การระหว่างประเทศ
Neo-liberalism (เสรีนิยมใหม่)
ทุกประเทศล้วนต้องการความมั่นคงและความมั่งคั่ง
ควรจะร่วมมือเกื้อหนุนซึ่งกันและกันให้ดำเนินไปสู่เป้าหมายร่วมกัน
Functionalism (หน้าที่นิยม)
เน้นแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่เกิดจากการอยู่ร่วมกัน
รวมตัวกันเพื่อแก้ปัญหาของกลุ่ม เมื่อร่วมมือกันมากขึ้นก็จะช่วยแก้ปัญหาอื่น ๆ ได้
ปัจจัยขับเคลื่อน อุปสรรคและโอกาส
ปัจจัยขับเคลื่อน
ปัจจัยด้านการเมือง
เอกลักษณ์ ภูมิภาคควรมีเอกลักษณ์ร่วมกัน
กลุ่มการเมืองหรือกลุ่มผลประโยชน์ภายในผลักดันให้เกิดการรวมกลุ่มเพื่อเอื้อต่อการขยายความร่วมือ
ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ
การพึ่งพากันทางเศรษฐกิจของ
ประเทศในภูมิภาคที่เพิ่มมากขึ้น
การขยายตัวทางการค้าและ
การลงทุนระหว่างกัน
การต่อรองของประเทศสมาชิกกับ
ประเทศคู่เจรจาเพื่อรักษาผลประโยชน์
การดึงดูด
การลงทุนจากต่างประเทศ
ปัจจัยอื่นๆ
สังคมและวัฒนธรรม
สิ่งแวดล้อม
โอกาส
มีความมั่นคงและความมั่งคั่ง
อำนาจการต่อรองมากขึ้น
อุปสรรค
ชาตินิยม หากมีระดับสูงจะ
เป็นอุปสรรคต่อการรวมกลุ่ม
โลกนิยมหรือสากลนิยม ที่ก้าวข้ามภูมิภาคไปสู่การเชื่อมโยง
ปัจเจกบุคคลเข้ากับโลก
ภัยคุกคาม ที่มาจากทั้ง
ภายในและภายนอกผลักดันให้เกิดการรวมกลุ่มภูมิภาค
ผู้นำต้องมีคนเริ่มลงมือทำ
นายเศรษฐพล เมืองเกษม 6113120029 สาขาวิชาสังคมศึกษา กลุ่ม 1