Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Metabolism and Body Temperature - Coggle Diagram
Metabolism and Body Temperature
สัญญาณชีพ (Vital signs)
สัญญาณชีพเป็นกลุ่ม ของอาการเเสดงสำคัญที่บ่งบอกถึงสถานะของกระบวนการที่ทำให้ร่างกายมีชีวิตอยู่ได้ ค่าปกติของสัญญาณชีพของเเต่ละบุคคลจะเเตกต่างกันไปตามอายุ น้ำหนัก เพศ เเละสุขภาพโดยรวม
อุณหภูมิกาย (Body temperature)
ปัจจัยที่มีผลต่ออุณหภูมิกาย
(Factorsaffectingnormalbodytemperature)
ปัจจัยที่มีผลต่อการผันเเปรของอุณหภูมิกายปกติ
ช่วงระยะเวลาของการมีประจำเดือน
(Phase of menstrual cycle)
อัตราการเมทาบอลิซึม (Metabolismrate)
การเปลี่ยนเเปลงช่วงเวลาระหว่างวันหรือนาฬิกาชีวภาพ
(Daily cycle:Circadian rhythm)
ระบบการควบคุมอุณหภูมิของสมอง
(Temperature-regulatingcenter)
อุณหภูมิผิว (ShellorSkintemperature)
ผิวเป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับการเเลกเปลี่ยนความร้อนกับสิ่งเเวดล้อม
เเปรผันได้มากกว่าอุณหภูมิเเกนกลาง
อุณหภูมิจะอยู่ที่ 36.6-37.0 C
โดยทั่วไปจะมีค่าน้อยกว่า Core temperature
อุณหภูมิเเกนกลาง (Coretemperature)
อุณหภูมิจะอยู่ที่ 36.5-37.5 C
จะมี Thermoregulatorysystemเป็นระบบรวบคุมอุณหภูมิเเกนกลางให้อยู่ในช่วงนี้
หมายถึง
ระดับความร้อนหรือความเย็นของร่างกายที่วัดค่าออกมาได้หรือเป็นความสมดุลระหว่างการผลิตความร้อน เเละการสูญเสียความร้อนจากร่างกายไปยังสิ่งเเวดล้อม
การสมดุลความร้อน(Heat balancing)
Heat balancing>>Normal body temperature
Heat production=Heat loss
Hyperthermia>>High body temperature
Heat production>>Heat loss
Hypothaermia>>Low body temperature
Heat production>>Heat loss
การผลิตความร้อนในร่างกาย (Lnternal heat Producition)
Metabolism rate
Basal metabolism rate
Surface area มาก>BMR มาก
Sex:Male>Female
Age:Children>Elderly
Extra Metabolism
ฮอร์โมน Thyroxine ถูกนำมาใช้เพื่อตอบสนองในระยะยาว 1-3สัปดาห์
ฮอร์โมน Catecholamine (NE,E)ถูกนำมาใช้เพื่อตอบสนองในระยะสั้น
Shiivering thermogenesis
(Core temp <35.5 C
อยู่ในเย็นจัด>อาการหนาวสั่นจากการหดหัวเป็นจังหวะถี่ของกล้ามเนื้อโครงร่าง อยู่นอกอำนาจจิตใจ
Brown adipose tissue (จะถูกสลายมาใช้เวลาหนาวจะไม่เกิดการ Shivering)
Sympathetic nerves:Norepinephrine (NE),Epinephrine(E)
Blood vesseis
Mitochondria
ความผิดปกติของการควบคุมอุณหภูมิร่างกาย
(Abnormalitiies of body temperature regulation)
Heat syncope (ลมเเดด)
พบในคนที่ยื่นนิ่งๆนานๆกลางเเดด>Venous return
Heat exhaustion
การอ่อนเพรียจากความร้อนจากการสูญเสียน้ำจำนวนมากพบในคนที่อยู่ในที่รัอน,ออกกำลังกายรุนเเรงหรือนานในบทที่อากาศร้อนขึ้น
Heatstroke(อุณหภูมิการสูงมากกว่า40.5C
จนทุกให้ระบบประสาทเสียหาย เช่น ในคนที่ได้รับยาขับปัสสาวะ เป็นต้น
อาการ:อาเจียน,ปวดหัว,สับสน,กระสับกระส่าย,หมดสติ,ช็อค
Fever หรือ Pyrexia(ไข่)
การควบคุมอุณหภูมิร่างกาย (Thermoregulatory system)
หน่วยปฏิบัติการทำหน้าที่ควบคุมอุณภูมิของร่างกาย(Thermo-regulatoryeffectors
การไหลเวียนเลือดใต๊ผิวหนัง(Cutaneousbloodvessels
ต่อมเหงื่อ Sweatgland
กล้ามเนื้อลาย Skeletalmuscle
ต่อมไทรอยด์(Thyroid gland)ต่อมหมวกไต(Adrenal gland)
ระบบที่ตอบสนอง
Autonomicneve
Somaticnerve
Hormone
Behavir
สิ่งเร้า (Stimuli) ความร้อน/ความเย็น จากภายนอก ภายในร่างกาย
ตัวรับอุณหภูมิ(Thermoreceptors)
•peripheral or Cutaneous
•central or core (สมอง)
•Deep body temp receptors
สิ่งเเวดล้อมภายนอก(External environment)
Heatlossfrominternalorgans(การระบายความร้อนจากอวัยวะภายใน)Major sit of heat production
•Conduction การนำความร้อนจากอวัยวะหนึ่งไปยังอวัยวะหนึ่ง
•Convection การพาความร้อนไปกับเลือด Rate of blood flow:envionment>>Skin blood flow
Temp difference (Tissue vs Blood suppply
การสมดุลความร้อน (Heat balancing)
การผลิตความร้อนจากภายในร่างกาย(lnternal heat production)
Metabolism rate
Basalmetabolismrate (Age,Sex,Surface area
Activity
Emotin
Foodintake
Atmospherictemp