Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Sensory and Special Senses I-II - Coggle Diagram
Sensory and Special Senses I-II
ชนิดของการรับรู้ทางประสาทสัมผัส(Type of sensation)
Superficial sensation : ประสาทสัมผัสการรับรู้แบบพื้นผิว (รับรู้ผ่านทางผิวหนัง)
Deep sensation : ประสาทสัมผัสการรับรู้แบบลึก (รับรู้ผ่านทางกล้ามเนื้อและข้อต่อ)
Visceral sensations : ประสาทสัมผัสการรับรู้ที่เกี่ยวข้องกับช่องท้อง
Special senses : ประสาทสัมผัสการรับร
ลักษณะของสิ่งกระตุ้น(Characteristic of Stimulus)
Modality : ประเภท (Mechanical, Chemical, Photo, Thermal stimuli)
Intensity : ความแรง (Sensory threshold frequency code)
Duration : ระยะเวลา (Receptor adaptation)
Location : ตeแหน่ง (Topographic organization)
คุณสมบัติทั่วไปของตัวรับความรู้สึก(Common characteristics of receptor)
Threshold: ปริมาณของสิ่งเร้าหรือแรงกระตุ้นที่น้อยที่สุดที่ทำให้เกิดความรู้สึก
Adaptation :การปรับตัวของตัวรับความรู้สึก
Tonic receptors (Slowly adapting receptors)
Phasic receptors (Rapidly adapting receptors)
Receptive fields : ตัวรับหนึ่ง ๆ จะตอบสนองต่อแรงที่กระทำบนพื้นผิวเฉพาะ
Two-point discrimination threshold : ระยะห่างของจุดกระตุ้นที่น้อยที่สุด
การแบ่งชนิดของตัวรับความรู้สึก(Classification of sensory receptors)
1) แบ่งตามรูปร่างทางจุลกายวิภาคศาสตร
Free nerve endings (ปลายเปลือย
• Encapsulated nerve endings ปลายเป็นกระเปาะแคปซูล
• Sensory cells เซลล์เฉพาะ
Receptor cell in Eye, Ear, Tongue
• Peripheral cells เซลล์ประสาทส่วนปลาย
2) แบ่งตามต่ำแหน่งตัวรับหรือตามหน้าที่
Exteroceptor : สิ่งเร้าอยู่ภายนอก
Visceroceptor : สิ่งเร้าอยู่มาจากอวัยวะภายใน
Telereceptor : สิ่งเร้าอยู่ห่างจากตัวรับ
Proprioceptor : ตำแหน่งของร่างกาย ความรู้สึกในขณะที่มีการเคลื่อนไหว
3) แบ่งตามชนิดของตัวกระตุ้น
Mechanoreceptor : พลังงานกล
Chemoreceptor : เคมี
Thermoreceptor : อุณหภูมิ
Nociceptor : เช่น ความเจ็บปวด
Photoreceptor : แสง
ระบบประสาทรับความรู้สึกทางกาย(Somatosensory system)
Posterior (Dorsal) columns
Brodmann area: 3, 1, 2
Spinocerebellar tracts
สัมผัสจากกล้ามเนื้อ, กระดูก,
ข้อต่อ
Spinothalamic tracts
สัมผัสความเจ็บปวดและ
อุณหภูม
การมองเห็น(Vision)
Primary visual cortexเพื่อทำหน้าที่รับภาพที่มองเห็นเป็นภาพจริงหัวตั้ง
Visual association cortexเพื่อแปลความหมายจากภาพที่มองเห็นว่าวัตถุนั้นคืออะไร
Rods ทำงานเพียงอย่ํางเดียวจะมองเห็นวัตถุต่ําง ๆ เป็นสีขําว-ดำเท่ํานั้น
Rods และ Cones ทำงานร่วมกันทำให้มองเห็นวัตถุเป็นสีปนขําว-ดำ แต่ไม่
สํามํารถระบุให้แน่ชัดได้ว่ําเป็นสีใด
Cones ทำงานเพียงอย่ํางเดียวจะมองเห็นวัตถุต่ําง ๆ เป็นสีถูกต้อง
การได้ยิน (Hearing)
หูัั้นนอก รวมเสียง
หูัั้นกลาง (Eustachian tube
หูัั้นใน(Cochlea)
เซลล์ขน (Hair Cells) เป็นตัวรับกระตุ้นของเสียง
แลบบิรินท์ (Vestibular labyrinth) อวัยวะรับกํารทรงตัว
หินปูน (Otolith) เกําะอยู่ระหว่ํางคอเคลียกับประสําทกํารทรงตัว เพื่อช่วยในกํารเคลื่อนไหวศีรษะตํามแรงโน้มถ่วงของโลก
การทรงตัว(Balance)
Vestibular apparatus (หู)
Eyes (ตา)
Posterior column of spinal cord (ไขสันหลัง)
Cerebellum (สมองซีรีเบลลัม)
การรับรส(Taste)
ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการรับรส
Insular cortex
ทำหน้าที่ในการแสดงความรู้สึกเมื่อมีการ
รับรส คือ Limbic system
Nerve 7,9,10
การได้กลิ่น(Smell)
Olfactory receptors คือฐานรับกลิ่น
ประกอบด้วยเซลล์ 3 ชนิด
Olfactory receptor cells
Supporting epithelial (sustentacular) cells
Basal cells
ทำหน้าที่ในการแสดงความรู้สึกเมื่อมี
การรับกลิ่น คือ Amygdala