Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การแปล, Keereewee 001 Niwara 003 Nitchakarn 148 …
การแปล
ความแตกต่าง
tense/กาลเวลา
-
ภาษาไทยจะไม่มีการผันกริยาตาม Tense (กริยา 3 ช่อง)
จะไม่มีกริยาช่วยตามประธาน (Subject and verb agreement)
ภาษาอังกฤษมีรูปแบบที่สื่อถึงเวลาของเหตุการณ์ที่ชัดเจน แต่ภาษาไทยมักใช้คำบอกเวลาเข้ามาช่วย หรือสังเกตจากบริบทแทน เช่น I will go to London next year. กับ It's going to rain. 2 ประโยคนี้ถึงจะอยู่ใน Tense เดียวกันแต่เวลาต่างกัน ความแน่นอนต่างกันด้วย แต่ภาษาไทยจะใช้คำว่า จะ ไปเลยแล้วสังเกตจากบริบทแทน โดยรวมคือภาษาไทยจะไม่ลงรายละเอียดเรื่องเวลาขนาดนั้น
จะไม่มีการใช้ Article (a,an,the) เยอะเท่าภาษาอังกฤษ
คำและประโยค
-
ภาษาไทยวางคำกริยาวิเศษณ์ไว้เฉพาะที่ ด้านหลังประโยค แต่ ภาษาอังกฤษสามารถวางคำกริยาวิเศษณ์ไว้ได้ทั้งใน ต้นประโยค กลางประโยค และท้ายประโยค
-
-
-
-
ภาษาอังกฤษมีคำสรรพนามที่ผันตามประธานอย่างชัดเจน (e.g. He, She) แต่ภาษาไทยไม่ได้กำหนดไว้อย่างชัดเจน
คำบางคำในภาษาไทยมักมีคำอื่น ๆ ที่สื่อความหมายเหมือนกันแต่มีระดับภาษาที่ต่างกัน เช่น คำว่ากิน แบ่งออกไปได้เป็น แดก กิน ทาน รับประทาน เสวย
-
การเชื่อมประโยค
คำลงท้ายประโยค เช่น เมื่อจบประโยค จะมี full stop(.), question marks(?), Exclamation Marks(!) เป็นต้น แต่ในภาษาไทยจะไม่มีเครื่องหมายเหล่านี้เมื่อจบประโยค
สัญลักษณ์เชื่อมอื่นๆ การใช้ Hyphens และ Dashes อย่าง hyphens จะใช้เชื่อมคำเข้าด้วยกันเพื่อให้เกิดความหมายใหม่ dash จะแยกคำ วลี ออกจากประโยค นอกจากนี้ยังมี semicolons, apostrophes, colons, commas เป็นต้น
-
วัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
คนไทยจะมีการใช้คำเรียกที่แสดงความสนิทสนมโดยสามารถเรียกคนที่รู้จักเป็นคำว่าป้า หรือ ลุง ได้เช่น เรียกป้าที่ขายผลไม้ว่า "คุณป้าคะเอาแตงโมถุงนึงค่ะ" แต่ในภาษาอังกฤษจะเรียกคนแปลหน้าว่า You ไปเลย
-
-