Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะหัวใจล้มเหลว - Coggle Diagram
ภาวะหัวใจล้มเหลว
กลไกการเกิดภาวะบวม
ความดันในหลอดเลือดฝอยเพิ่มสูงขึ้น
ของเหลวเคลื่อนผ่านออกสู่ช่องระหว่างเซลล์ได้มากขึ้น
ความดันในหลอดเลือดดำเพิ่มสูงขึ้น
ปริมาตรพลาสมาลดลง
ปริมาตรเลือดที่หัวใจส่งออกต่อนาทีลดลง
มีการคั่งของโซเดียมและน้ำจากการดูดกลับของไต
พยาธิสรีรภาพของภาวะหัวใจล้มเหลวที่ทำให้เกิดอาการและอาการแสดง
อาการแสดงของผู้ป่วยรายนี้
อ่อนเปลี้ยไม่มีแรง
หายใจไม่อิ่ม
แน่นท้อง
รองเท้าคับ
เบื่ออาหาร
น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น 2กก.
นอนราบไม่ได้
หายใจเหนื่อยหอบ
ปลายมือปลายเท้าเย็น
ขาบวมระดับ +2
ตรวจพบเสียง Murmur
เกิดจากการไหลของเลือดผ่านลิ้นหัวใจและหลอดเลือดใหญ่ เลือดที่
ไหลวนทำให้หัวใจและหลอดเลือดสั้นสะเทือนเกิดเสียงคล้ายพ่นน้ำหรือเปาลม
2) การไหลย้อนกลับไปมาผ่านลิ้นที่ตีบหรือไม่สมบูรณ์
3) การไหลของเลือดเข้าช่องหัวใจที่ขยายเกิน
1) อัตราการไหลหรือความเร็วในการไหลเพิ่มขึ้น
4) เลือดไหลผ่านช่องทางที่ผิดปกติในห้องหัวใจ
ในผู้ป่วยรายนี้ตรวจพบ
สาเหตุและกลไกที่ทําให้ผู้ป่วยเกิดภาวะหัวใจล้มเหลว
สาเหตุ
กล้ามเนื้อหัวใจทำหน้าที่ผิดปกติ
โรคกล้ามเนื้อหัวใจ
(cardiomyopathy)
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบจากเชื้อไวรัส
แบคทีเรีย
เชื้อรา
เชื้อไวรัส
ปรสิต
พิษของสารเคมี
ดื่มแอลกอฮอล์เป็นเวลานาน
กล้ามเนื้อหัวใจตาย
โรคหลอดเลือดเลี้ยงหัวใจตีบ
โรคหัวใจจากความผิดปกติของการเมทาบอลิซึมโรคหัวใจจากความผิดปกติของระบบต่อมไร้ท่อ
มีความจำกัดในการคลายตัวรับเลือดของเวนตริเคิล
ภาวะหัวใจถูกกดอย่าง
รุนแรง (cardiac tamponade)
หัวใจอักเสบบีบรัด
(constrictive pericarditis)
ลิ้นไมทรัลและไตรคัสปิดตีบ
hypertrophic obstructive
cardiomyopathy
ภาวะที่หัวใจต้องรับภาระหนักอย่างผิดปกติ
ภาวะที่เพิ่มภาระด้านหน้าของหัวใจ
ลิ้นไมทรัลและไตรคัสปิดรั่ว
ความพิการแต่กำเนิด
มีทางลัดเลือดจากหัวใจซีกซ้ายไปซีกขวา
ปริมาตรเลือดมากเกิน
ความผิดปกติของผนังกั้น
ของเอเตรียม
patent ductus arteriosus
ภาวะที่เพิ่มภาระด้านหลังของหัวใจ
ลิ้นเอออร์ติคและลิ้น
พุลโมนิคตีบ
ความต้านทานของหลอด
เลือดสูง
ความดันโลหิตสูง ความดัน
ในหลอดเลือดพุลโมนารีย์สูง
กลไกที่ทำให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลว
ปริมาตรเลือดที่หัวใจบีบออกแต่ละครั้งลดลง
เพิ่มแรงการบีบตัว
ของหัวใจ
เพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ
หลอดเลือดหดตัว
หลอดเลือดแดง
ทำให้หัวใจต้องการออกซิเจนมากขึ้น
เวนตริเคิลต้องเสียพลังงานเพื่อเอาชนะภาระด้านหลัง
เพิ่มภาระด้านหลังของหัวใจ
ลิ้นเอออร์ติคและลิ้นพลุโมนิคตีบ
ความต้านทานของหลอดเลือดสูง
ความดันโลหิตสูง ความดันในหลอดเลือดพุลโมนารีย์สูง
จึงทำให้ปริมาตรเลือดที่หัวใจบีบออกลดลง
หลอดเลือดดำ
จะเพิ่มปริมาตรเลือดกลับเข้าสู่หัวใจ
เกิดหัวใจยืดขยาย
ทำให้ปริมาตรเลือดที่หัวใจบีบออกแต่ละครั้ง และปริมาตรลือดที่หัวใจส่งออกต่อนาทีเพิ่มขึ้น
ภาระด้านหน้าของหัวใจเพิ่มขึ้น
การบีบตัวจึงแรงขึ้น
ลิ้นไมทรัลรั่ว
ทำให้มีเลือดรั่วย้อนกลับเข้ามาในเอเตรียมซ้าย ในช่วงที่
เวนตริเคิลข้ายบีบตัว
ลิ้นไมทรัสรั่วเป็นภาวะที่ลิ้นไมทรัลไม่สามารถปิด
เชื่อมกันได้อย่างสมบูรณ์ในช่งหัวใจบีบตัว
ทำให้เลือดที่เวนตริเคิลช้ายส่งออกเพื่อไป เลี้ยงร้างกายลดลง
ความผิดปกติของผนังกั้นของเอเตรียม
ปริมาตรเลือดมากเกินไป
ปอดคั่งเลือดเพิ่มขึ้น
หายใจเหนื่อยหอบ
มีอาการบวมที่ขาระดับ +2
2+ บวมเล็กน้อย กดบุ๋มลงไป 4mm รอยบุ๋มจะหายไปภายใน 10-15 วินาที
มีอาการหายใจไม่อิ่ม
การเปลี่ยนแปลงจากความดันโลหิตสูงสู่ภาวะหัวใจล้มเหลว
กล้ามเนื้อหัวใจตาย โรคหลอดเลือดเลี้ยงหัวใจตีบ
ความผิดปกติในหน้าที่การบีบตัวของหัวใจ
เวนตริเคิลซ้ายหนาตัวอย่างผิดปกติ
ความผิดปกติในหน้าที่การคลายตัวของหัวใจ
ความหมายของภาวะหัวใจล้มเหลว
เป็นภาวะที่หัวใจไม่สามารถบีบตัวส่งเลือดออกไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายได้เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย