Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Antinmicrobial Agents ยาฆ่าเชื้อ - Coggle Diagram
Antinmicrobial Agents
ยาฆ่าเชื้อ
Antifungal drugs ยาต้านเชื้อรา
SYSTEMIC ANTIFUNGAL DRUGS
Amphotericin B
กลไกการออกฤทธิ์
จับกับ ergosterol ของเชื้อราทำให้เกิดรู จากนั้นสารที่จำเป็นต่างๆรั่วออก และตายในที่สุด
วิธีใช้
ฉีดเข้าหลอดเลือดดำ IV infusion 1 mg ประมาณ 30 นาที และค่อยๆเพิ่มขนาดยา 0.25 ถึง 1 mg/kg/day
อาการไม่พึงประสงค์
อาจทำให้มีไข้ หนาวสั่น ความดันโลหิตลดลง
Flucytosine (5-FU)
กลไกการออกฤทธิ์
จับกับเอนไซม์ permease ส่งผลให้ทำลายกรดนิวคลิอิก และยับยั้งการ สังเคราะห์โปรตีนของเชื้อรา
วิธีใช้
50-150 mg/kg โดยแบ่งรับประทาน 4ครั้งต่อวัน
อาการไม่พึงประสงค์
คลื่นไส้ อาเจียน เพิ่มระดับ blood urea nitrogen (BUN)
Azole antifungals
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งเอนไซม์ CYP450 ทำให้ลดการสังเคราะห์ ergosterol ซึ่งเป็นองค์ประกอบของเชื้อรา
มีทั้งรูปแบบรับประทาน ทาเฉพาะที่ สอดช่องคลอด
KETOCONAZOLE
วิธีใช้
กินครั้งละ1 เม็ด (200 mg) วันละ 1 ครั้ง
อาการไม่พึงประสงค์
มีพิษต่อตับมาก ปัจจุบันจึงไม่นิยมใช้แบบ รับประทาน
Fluconazole
วิธีใช้
รับประทาน 150 mg ครั้งเดียว สำหรับเชื้อราในช่องคลอด
อาการไม่พึงประสงค์
มีอาการไม่พึงประสงค์น้อยกว่ายาอื่นในกลุ่ม azole
Itraconazole
มีฤทธิ์ดีที่สุดในกลุ่ม azole และเป็นยาที่แนะนำให้ใช้รักษา กลากทั้งที่ตัว และเล็บ
อาการไม่พึงประสงค์
พิษต่อตับน้อยกว่า ketoconazole
VORICONAZOLE
ใช้รักษา invasive candidiasis, aspergillosis
อาการไม่พึงประสงค์
พิษต่อตับน้อยกว่า ketoconazole
Micafungin
ใช้รักษา invasive candidiasis, aspergillosis
อาการไม่พึงประสงค์
คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ปวดศีรษะ
Antiviral drugs ยาต้านไวรัส
ไข้หวัดใหญ่
Oseltamivir
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งเอนไซม์ neuraminidase อย่างเฉพาะเจาะจง ซึ่งเป็นเอนไซม์ส าคัญที่ใช้แบ่งตัวเพิ่มจำนวน ของไวรัส influenza ทั้งชนิด A และ B
อาการข้างเคียง
คลื่นไส้ อาเจียน
รู้สึกไม่สบายท้อง
Antiherpes and Cytomegalovirus (CMV)
Acyclovir
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้ง DNA polymerase ส่งผลให้ยับยั้งการสังเคราะห์ DNA ของไวรัส
วิธีใช้
เริม
เป็นครั้งแรก
: 200 mg วันละ 5 ครั้ง นาน 7-10 วัน หรือ 400 mg วันละ 3 ครั้ง นาน 7-10 วัน
เป็นซ้ำ (recurrence)
: 400 mg วันละ 3 ครั้ง นาน 5 วัน หรือ 800 mg วันละ 2 ครั้ง นาน 5 วัน
ป้องกันการกลับมาเป็นซ้ำ (เป็นซheบ่อยๆ > 6ครั้งต่อปี)
: 400 mg วันละ 2 ครั้ง นาน 4-6 เดือน
งูสวัด
รับประทานยา 800 mg วันละ 5 ครั้ง นาน 7 วัน
อาการข้างเคียงจาการใช้ยา คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย
Antiretro virus (ยาต้าน HIV)
1.NRTIs
กลไกการออกฤทธิ์
competitive inhibition of HIV-1 reverse transcriptase
→ยับยั้งการ เปลี่ยน RNA เป็น DNA ของไวรัส
อาการไม่พึงประสงค์
คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ ง่วงซึม
2.NNRTIs
กลไกการออกฤทธิ์
competitive inhibition of HIV-1 reverse transcriptase
→ยับยั้งการ เปลี่ยน RNA เป็น DNA ของไวรัส
อาการไม่พึงประสงค์
คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ เวียนศรีษะ
3.PROTEASE INHIBITORS
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งเอนไซม์ viral protease ที่ใช้ในการแบ่งตัวของไวรัส
อาการไม่พึงประสงค์
คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ เวียนศรีษะ
4.ENTRY INHIBITORS
อาการไม่พึงประสงค์
คลื่นไส้ อาเจียน ความดันลดขณะเปลี่ยนท่า
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการเข้าสู่เซลล์ของไวรัส
5.ENTRY INHIBITORS
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการแทรกตัวของ DNA virus เข้าสู่เซลล์ร่างกาย (genome cell)
อาการไม่พึงประสงค์
คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ เวียนศรีษะ
Anti-Hepatitis virus
(ไวรัสตับอักเสบ)
Interferons
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้ง viral RNA translation
การรักษา
ฉีดเข้าผิวหนัง SC ทุกสัปดาห์ ประมาณ 4-6 เดือน
อาการไม่พึงประสงค์
อาการคล้ายไข้หวัด เช่น มีไข้ หนาวสั่น ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ รู้สึกไม่สบายท้อง
Lamivudine (3TC)
กลไกการออกฤทธิ์
reverse transcriptase inhibitors → ยับยั้งการแบ่งตัวของไวรัส
การรักษา
รับประทานครั้งละ 1เม็ด (100 mg) วันละ 1ครั้ง
อาการไม่พึงประสงค์
คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย
Adefovir
กลไกการออกฤทธิ์
reverse transcriptase inhibitors → ยับยั้งการแบ่งตัวของไวรัส
การรักษา
รับประทานครั้งละ 1เม็ด (10 mg) วันละ 1ครั้ง
อาการไม่พึงประสงค์
คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย
Covid-19 virus infection
Favipiravir
อาการข้างเคียง
คลื่นนไส้ อาเจียน
ท้องเสีย ตับอักเสบ
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์ 2 แบบบ คือ ยับยั้งการเพิ่มจำนวนของไวรัส และทำให้เชื้อไวรัสกลายพันธุ์
Antifungal drugs ยาต้านเชื้อรา
DRUGS FOR CUTANEOUS MYCOSES
Griseofulvin
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการแบ่งตัวของเชื้อรา
อาการไม่พึงประสงค์
รู้สึกไม่สบายท้อง ท้องเสีย คลื่นไส้ อาเจียน
ใช้รักษา dermatophyte (กลาก), กลากที่ขาหนีบ
Terbinafine
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งเอนไซม์ squalene epoxidase ส่งผลให้ลดการสังเคราะห์ ergosterol และทำให้เชื้อราตาย
ใช้รักษา dermatophyte (กลาก), กลากที่ขาหนีบ, เกลื้อน
อาการไม่พึงประสงค์
รู้สึกไม่สบายท้อง ท้องเสีย คลื่นไส้ อาเจียน ระคายเคืองบริเวณที่ทา
Nystatin
กลไกการออกฤทธิ์
จับกับ ergosterol ของเชื้อรา ทำให้เกิดรู จากนั้นสารที่จำเป็นต่างๆรั่วออก และตายในที่สุด
อาการไม่พึงประสงค์
อาจทำให้ลิ้นรับรสเปลี่ยนไป (ชั่วคราว)
ใช้รักษา Oral Candidiasis
Clotrimazole
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งเอนไซม์ CYP450 ทำให้ลดการสังเคราะห์ ergosterol ซึ่งเป็นองค์ประกอบ ของเชื้อรา
อาการไม่พึงประสงค์
ระคายเคืองบริเวณที่ใช้ เช่น อาจบวมแดง หรือคัน
ใช้รักษาเชื้อราในช่องคลอด
Tolnaftate
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งเอนไซม์ CYP450 ทำให้ลดการสังเคราะห์ ergosterol ซึ่งเป็นองค์ประกอบ ของเชื้อรา
ใช้รักษาเชื้อราที่ผิวหนัง กลาก เกลื้อน คันในร่มผ้า
อาการไม่พึงประสงค์
ระคายเคืองบริเวณที่ใช้
Mycobacterial Infections
ยาต้านวัณโรค
Isoniazide
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการสังเคราะห์ mycolic acid ซึ่งเป็น ส่วนประกอบสำคัญของผนังเซลล์เชื้อ mycobacteria
ผลข้างเคียง
มีพิษต่อระบบประสาทส่วนปลาย ชาปลายมือปลายเท้า
Rifampin
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการสังเคราะห์ arabinoglycan (ยับยั้ง arabinosyl transferase) เป็น bacteriostatic
ผลข้างเคียง
ยาทำให้ปัสสาวะ เหงื่อ มีสีแดง ปวดกล้ามเนื้อ มีพิษต่อตับ
Ethambutol
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการสังเคราะห์ arabinoglycan (ยับยั้ง arabinosyl transferase) เป็น bacteriostatic
ผลข้างเคียง
ปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ กรดยูริกเกิน ตับอักเสบ
ประสาทตาอักเสบ
Pyrazinamide
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการสังเคราะห์ mycolic acid (ยับยั้ง fatty acid synthetase 1)
ผลข้างเคียง
ปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ กรดยูริกเกิน ตับอักเสบ