Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Pathophysiology of Gastrointestinal system - Coggle Diagram
Pathophysiology of Gastrointestinal system
กลุ่มอาการและโรคระบบทางเดินน้ำดี
Liver cirrhosis ตับแข็ง
ภาวะเนื้อตับได้รับความเสียหายอย่างถาวร มีความแข็งตัวขึ้นจากพังผืดที่เกิดขึ้นภายในเนื้อตับ จากสาเหตุต่างๆ
ผลของตับแข็ง
กำจัดสารพิษจากทางเดินอาหารได้น้อยลง
สร้างอาหารสะสม และโปรตีน Albumin น้อยลง
สร้างน้ำย่อยมาย่อยไขมันได้ลดลง
สร้าง Coagulation factor ได้ลดลง
อาการแสดงของภาวะตับแข็ง
Ecchymosis จาก Coagulopathy
Jaundice
Ascites
Spider navi
Gynecomastia and testis atrophy
Caput medusa
UGIH จาก Bleeding esophageal varices
Portal hypertention ความดันโลหิตสูงในตับ
ผลลัพธข์ อง Portal hypertension ส่งผลหลายอย่าง
เกิดเส้นเลือดที่หลอดอาหารโป่ง Esophageal varices
ตับโตม้ามโต (Hepatosplenomegaly)
ท้องมานน้ำ (Ascites)
Portosystemic venous shunt เกิดเส้นเลือดที่ท้องขยายตัว(Caput medusae)
ภาวะที่เลือดในระบบ Hepatic portal system มีแรงดันที่สูงขึ้นจากสาเหตุต่าง ๆ ที่ขวางกันทางเดิน ของ Portal system เช่น Portal vein thrombosis หรอื Liver cirrhosis
Jaundice ภาวะตัวเหลือง ตาเหลือง
ภาวะดีซ่านที่เกิดจากสารเหลือง(Bilirubin) ไปสะสมที่ผิวหนัง
Hepatocellular jaundice
เกิดจากสาเหตุที่ตัวตับเอง มักมีค่า Direct bilirubin สูง, AST และ ALT สูง
Prehepatic jaundice
มักเป็นโรคที่เกิดจากการสลายของRBCมากเกินไป
Indirect bilirubin สูง, Liver enzyme ปกติ
Cholestasis jaundice
เกิดจากการอุดตันของทางเดินน้ำดีจากสาเหตต่างๆ เช่น Common bile duct stone, CA pancreas หรือ Cholangiocarcinoma เป็นต้น
มักมีค่า Direct bilirubin สูง ALP สูง
กลุ่มโรคที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวผิดปกติของทางเดินอาหาร
Gastroesophageal reflux disease
อาการคือ จุกเสียดแน่นลินปี่ หรอื มีอาการเรอ เปรี้ยว ขมคอ
ภาวะที่กรดจากกระเพาะอาหารสามารถไหลย้อน เข้าสู่หลอดอาหาร และเกิดการระคายเคืองหลอดอาหารได้
พยาธิสภาพเกิดจาก ภาวะใดก็ตามที่ทำให้ Lower esophageal sphincter เกิดการคลายตัว
ภาวะแทรกซ้อนคือ หลอดอาหารอักเสบ (Esophagitis) มะเร็งหลอดอาหาร (CA esophagus)
Pyloric and intestinal obstruction
ภาวะอุดตันของทางเดินอาหารส่วนใดก็ตาม
Pyloric stenosis
ภาวะอุดตันของทางเดินอาหารบริเวณกระเพาะ อาหารส่วน Pylorus
สาเหตุมักเกิดจาก Peptic ulcer disease เรื้อรังที่
ก่อให้เกิดแผลเป็นและพังผืด(Scar and fibrosis)
ทำให้กระเพาะอาหารส่วน Pylorus เริ่มเกิดการอุดตันช้าๆ
ผู้ป่วยมักมีอาการ อาเจียนหลังทานอาหารภายใน 1 ชั่วโมง
Small bowel obstruction
ภาวะอุดตันของทางเดินอาหารส่วนลำไส้เล็ก
อาการ
คลื่นไส้อาเจียน
ไม่ถ่ายไม่ผายลม
ปวดบิดท้อง
มีไข้ในกรณีที่เกิดภาวะแทรกซ้อน
Large bowel obstruction
อาการมักจะมาด้วย ไม่ถ่ายไม่ผายลม ท้องบวมโต อาเจียน บางครั้ง จะอาเจียนเป็นอุจจาระ
เป็นภาวะอุดตันของทางเดินอาหารส่วนลําไส้ใหญ่
มักพบในคนสูงอายุ สาเหตุที่พบบ่อยคือ Colon cancer ส่วนในเด็กมักเกิดจาก Sigmoid volvulus
กลุ่มอาการผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร และโรคที่เกี่ยวข้อง
GI bleeding เลือดออกในทางเดินอาหาร ภาวะตกเลือดในระบบทางเดินอาหาร
Upper gastrointestinal bleeding (UGIH)
ถ่ายดํา (Melena) หรือ ถ้าเลือดออกมากๆ ก็จะถ่ายเป็นเลือดสด (Hematemesis)
อาเจียนเป็นเลือดสด (Hematemesis)
อาเจียนเป็นสีน้ำตาล (Coffee ground)
สาเหตุ
Gastric cancer
ภาวะการณ์เจริญ เติบโตของเซลล์เยื่อบุผิว กระเพาะอาหาร (Dysplasia) สาเหตุมักเริ่มมาจากการเป็นๆหายของแผลที่เกิดกระบวนการรักษาตัวซ้ำๆ ร่วมกับ Carcinogen
Peptic ulcer bleeding
เชื้อแบคทีเรีย H. pyLori ซึ่งทำให้เกิด Ulcerแ ล ะ BIeedingได้บ่อยๆ
คือภาวะเลือดออกจากการมีแผล(Erosion) ที่บริเวณStomachหรอื Duodenum
เมื่อแผลลึกถึงเส้นเลือดก็แตกและเลือดออกได้
จะมีการรักษาพิเศษกว่า Ulcer ชนิดอื่นโดยจะมีการให้ยาปฏิชีวนะร่วมด้วย เรียกว่า H. pylori eradication
Gastritis
สาเหตุ : NSAID used, Alcohol, Steroid, Chemical burn
คือการอักเสบของกระเพาะอาหารที่เกิดจาก สาเหตต่างๆ เมื่ออักเสบมากๆ ก็ทำให้เกิดจุดเลือดออกเล็ก ๆ กระจายทั่วทั้งกระเพาะอาหาร
Esophageal varices bleeding
เมื่อแรงดัน Portal system สูงมาก ก็จะเกิดเส้นเลือดแตกได้
พบในผู้ป่วยที่มีภาวะ Portal hypertension จากสาเหตต่างๆ
โดยเฉพาะ ตับแข็ง(Liver cirrhosis)
เมื่อมี Portal hypertension ก็จะเกิดเส้นดําที่ หลอดอาหารโป่งพอง(Esophageal varices)
Esophageal varices bleeding มักทําให้เลือดออกปริมาณมากและเสียชีวิตได้
Mallory-Weiss syndrome
หากหลอดอาหารฉีกทะลุถึง Mediastinum จะเรียกว่า Boerhaave’s syndrome
ประวัติที่พบบ่อยคือ อาเจียนมาก จากนั้นมี อาเจียนเป็นเลือดตามมา
เกิดจากภาวะหลอดอาหารฉีกขาดและเลือดออก
มักเกิดตามหลังการอาเจียนที่รุนแรงหลายครั้งมักมีอาการเจ็บอกร่วมด้วย
Lowergastrointestinalbleeding(LGIH)
ลักษณะอุจจาระเป็นเลือดในแบบต่างๆ สามารถอธิบายตำแหน่งของเลือดที่ออกได้
ภาวะเลือดออกในทางเดินอาหารส่วนที่อยู่ Distal ต่อ Ligament of Treitz(ส่วนมากมักเกิดจากlesionบริเวณColon)
อาการวิทยาที่พบได้บ่อยคือถ่ายเป็นเลือด(Hematochezia)
สาเหตุ
Hemorrhoid and Anal fissure
Hemorrhoid เป็นการโป่งพองของเส้นเลือดที่ทวาร ทำให้เกิดก้อนภายในและภายนอกทวาร ซึ่งสามารถ แตกและเกิดอาการถ่ายเป็นเลือดได้
ผู้ป่วยจะมีอาการถ่ายเป็นเลือด และปวดทวาร ลักษณะเหมือนมีดบาด อุจจาระเคลื่อนผ่านแผล
Colon cancer
คือโรคที่เซลล์เยื่อบุผิวล้าไส้ใหญ่เจริญเติบโต อย่างผิดปกติ เกิดเป็นเนื้อร้ายลุกลามอวัยวะข้างเคียง
ผู้ป่วยมักมาด้วยอาการอุจจาระล้าเล็กลง หรือ ถ่ายเป็นเลือดในลักษณะต่างๆ ได้
Inflammatory bowel disease
Crohn’s disease -> เกิดได้ทั่วทั้งทางเดินอาหาร
คือกลุ่มอาการอักเสบของระบบทางเดินอาหาร
Ulcerative colitis -> เกิดเฉพาะ Colon เท่านั้น
ผู้ป่วยมักมาด้วยอาการถ่ายเป็นมูกเลือด มีไข้ ปวดท้องร่วมด้วย
Diverticular disease
มักพบในผู้ป่วยสูงอายุ โดยเฉพาะอายุ70ปีขึ้นไป
มักพบบริเวณตําแหน่งSigmoidcolonที่มีการใช้แรงบีบอุจจาระมาเป็นเวลานาน
ทำให้กล้ามเนื้อผนังลําไส้อ่อนแอ เกิดเป็นกระเปาะ (Diverticulosis) ซึ่งแตกและมีอาการถ่ายเป็นเลือดได้
Abdominal pain อาการปวดท้อง
Visceral pain
เกิดจากการกระตุ้นอาการปวดของ C fiber Network of afferent ในแต่ละอวัยวะ
เป็นลักษณะของอาการปวด
ของVisceral peritoneum ทุกอวัยวะในช่องท้อง
จะแสดงอาการปวดบริเวณ Midline บอกตำแหน่งชัดเจนไม่ได้ กดเจ็บไม่ชัดเจน
Fore gut -> Epigastrium pain
Mid gut -> Periumbilical pain
Hind gut -> Hypogastric pain
Parietal pain
เกิดจากการกระตุ้น Somatic nerve (A-delta fiber)
เป็นอาการปวดของ Parietal peritoneum ที่หุ้มผนังช่องท้อง
สามารถระบุตำแหน่งปวดได้ชัดเจนลักษณะอาการปวดจะเป็นแบบ
Sharp pain
ตําแหน่งปวดจะแสดงได้ชัดเจนตามตำแหน่งของParietalperitoneum ที่เกิด พยาธิสภาพ
Refer pain
Afferent neuron ตอนเป็น Embryo มันจะอยู่ใกล้ ๆ กัน แต่พอมีการ Development ของอวัยวะต่างๆ ทำให้ Afferent neuron บางส่วนไปอยู่อีกที่หนึ่ง
เป็นอาการปวดตําแหน่งที่ไกลจากอวัยวะนั้นๆ
เกิดจากการที่มีการใช้ Central pathway ร่วมกันของ Afferent neuron
สาเหตุ
สาเหตุทางด้านศัลยกรรม(Surgical condition)
รักษาด้วยการผ่าตัดฉุกเฉิน
หรือรักษาด้วยยาและแก้ไขสาเหตุด้วยการผ่าตัดหรือหัตถการทางศัลยกรรม
สาเหตุทางด้านอายุรกรรม(Medical condition)
รักษาด้วยยาเพียงอย่างเดียว
สาเหตุทางด้านนรีเวชกรรม (Gynecologic condition)
เป็นการปวดที่เกิดจากอวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิงรักษาด้วยยาและการผ่าตัด
Diarrhea อุจจาระร่วง
การจําแนกอาการท้องร่วง
Chronic > 4 สัปดาห์
Persistent 2-4 สัปดาห์
Acute < 2 สัปดาห์:
อุจจาระเหลว ≥ 3 ครั้ง/วัน
อุจจาระมีมูกปนเลือด ≥ 1 ครั้ง/วัน
กลไก
การบุกรุกของเยื้อเมือก
Neutrophil เข้ามาทำให้เกิดกระบวนการอักเสบผนังลําไส้ถูกทําลาย เกิดการหลุดลอกของผนังลำไส้ เกิดถ่ายเหลวออกมาเป็นมูกเลือด
มีการลุกล้ำ(Invasion)ของเชื้อแบคทีเรียเข้าสู่ผนังลำไส้ส่วนใน
Macrophage มาเก็บกินเชื้อโรค และสลายตัวเองไป
ตรวจอุจจาระมักพบ WBC
สาเหตุ
Shigella
• Salmanella
• EHEC (Enterohemorrhagic Escherechia coli)
พื้นที่ผิวลดลง
ลำไส้ส่วน ilium มีการสร้างสาร encephalin ลดลง ลำไส้เคลื่อนตัวมากขึ้น(Motility diarrhea)
ชื่อที่พบบ่อยคือ Rotavirus ที่เป็นสาเหตุของอาการ ท้องเสียในเด็ก
เกิดจากกลไก Osmotic + Motility ร่วมกัน
ชื่อที่พบบ่อยคือ Rotavirus ที่เป็นสาเหตุของอาการท้องเสียในเด็ก
เพิ่มการเคลื่อนไหว
สาเหตุ เช่น Irritable bowel syndrome, Thyrotoxicosis
ลำไส้เคลื่อนตัวมากเกินไป อาหารเคลื่อนผ่านลำไส้อย่างรวดเร็ว
อุจจาระถูกดูดซับน้ำได้ไม่ทัน เกิดอาการถ่ายเหลว
ลดการเคลื่อนไหว
ทำให้เกิดแบคทีเรียเจริญเติบโตในลำไส้มากเกินไป และมีอาการถ่ายเหลวได้
ลำไส้เคลื่อนตัวขับอุจจาระช้าเกินไป
สาเหตุ เช่น Neuromuscular defect of bowel
ท้องเสียออสโมติก
กินก็จะถ่ายเหลว ไม่กินก็จะหยุดถ่าย
เกิดจากความผิดปกติของการย่อย ซึ่งไม่สามารถ ย่อยสารใดๆ ก็ตามที่สามารถดึงน้ำเข้าหาตัวได้
ถ่ายเหลวปริมาณปานกลาง
สาเหตุ
Lactase deficiency -> ย่อย Lactose ไม่ได้ทำให้ Lactose ดึงน้ำเข้ามาในลำไส้
ท้องเสียหลั่ง
มักจะถ่ายเหลวออกมาปริมาณมากๆ และต่อเนื่อง ตลอดเวลา
กระตุ้น cAMP ด้วยสาเหตุใด ๆ ก็ตามที่เยื่อบุลำไส้เล็ก ขับ Cl ออกมาในลำไส้ ส่งผลให้ Na และ H2O ถูกดึง
ตามมาในลำไส้ (Electrolyte transportation)
สาเหตุ
V. cholera
E. coli
C. difficile
Vomiting อาเจียน
กระเพาะอาหารส่วน Pylorus บีบตัว
กล้ามเนื้อหน้าท้องและกระบังลมหดตัว
หูรูดกระเพาะอาหารและกระเพาะอาหารส่วน Fundus คลายตัว
Softplateหดตัวไม่ให้อาหารออกทางจมูก
Epiglottis ปิดกล่องเสียง
Pathway
Cortex and limbic system
กลิ่น เหม็นภาพสยดสยองมโนภาพอยากอาเจียน
Chemoreceptor trigger
การกระตุ้นจากการเปลี่ยนแปลงของสารเคมีในเลือดและไขสันหลัง
Vestibular system
เมารถ เมาเรือ
Peripheral pathway
กระตุ้นจากโรคระบบทางเดินอาหาร
Constipation ท้องผูก
หลังอุจจาระรู้สึกว่ายังไม่สุด หรือ มีความอึดอัดไม่สบายท้อง
Pathway อุจจาระต้องแข็งแห้งใช้แรงเบ่งมาก
อุจจาระ <3 ครั้ง /สัปดาห์
Pathophysiology
การขนส่งลําไส้ล่าช้า
เพิ่มการดูดNa/H2Oของลําไส้
ไฟเบอร์ไม่เพียงพอ
กรดน้ำดีไม่เพียงพอ
ปัญหาการถ่ายอุจจาระ
จิตเวชศาสตร์