Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาระงับปวด ลดไข้ ต้านการอักเสบ สารน้ำและสารอาหารทางหลอดเลือดดำ - Coggle…
ยาระงับปวด ลดไข้ ต้านการอักเสบ
สารน้ำและสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ยาแก้ปวด-ลดไข้
(Analgesic - Antipyretics)
ไม่เสพติด (non-narcotics)
ประสิทธิภาพแก้ปวดต่ำ เมื่อเทียบกับ opioids
ไม่ทำให้ดื้อยา
เช่น aspirin and paracetamol
Aspirin
(acrtyl salicylic acid, ASA)
อยู่ในกลุ่ม salicylates
กลไกการออกฤทธิ์ : ยับยั้งการสังเคราะห์ prostaglandins ด้วยการยับยั้งเอนไซม์ cyclo-oxygenase (COX) ทั้ง COX1 and COS2
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ฤทธิ์ระงับปวด แก้ไข้
ฤทธิ์ต้านการอักเสบ
ฤทธิ์ต้านเกล็ดเลือด
ฤทธิ์ขับกรดยูริกออกทางปัสสาวะ
ฤทธิ์ข้างเคียง และพิษ
คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน แผลในกระเพาะอาหาร
พิษอ่อน ทำให้หายใจเร็วแรง มึนงง ปวดศีรษะ หูอื้อ สับสน ชัก
พิษรุนแรง ภาวะสมดุลกรด-ด่างของร่างกายเสีย
พิษต่อไต
แพ้ยา
Paracetamol
(Acetaminophen)
ฤทธิ์ระงับปวด-ลดไข้
คล้าย aspirin ต่างที่
ฤทธิ์ต้านการอักเสบต่ำ
ฤทธิ์ระคายเคืองกระเพาะอาหารต่ำ
ไม่มีฤทธิ์ต่อเกล็ดเลือดและสมดุลกรด-ด่างของร่างกาย
ไม่มีฤทธิ์ต่อการขับกรดยูริก
ถูกทำลายที่ดับด้วย cytochrome P450
ได้สารพิษต่อตับ
ขนาดปกติสารพิษจะถูกทำให้หมดฤทธิ์ด้วย glutathione ในร่างกาย
ขนาดสูง หรือภาวะขาด glutathione จะเกิดพิษต่อเซลล์ตับ
วิธีแก้พิษ ให้ N-acetylcysteine ที่เป็นสารเริ่มของ glutathione
Non-steroidal Anti-inflammatory Drugs
( NSAIDs)
เป็นกลุ่มยาต้านอักเสบที่ไม่ใช้สเตอรอยด์
ตัวอย่างยา
Indomethacin
Diclofenac
Ibuprofen
Mefenamic acid
Piroxicam
ข้อบ่งใช้
Anti-inflammatory effect
Analgesic effect
Antipyretic effect
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการสร้าง prostaglandin ด้วยการยับยั้งเอนไซม์ COX
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ฤทธิ์ระงับปวด
ฤทธิ์ลดไข้
ฤทธิ์ต้านการอักเสบ
ระคายเคืองกระเพาะอาหาร
พิษต่อไต
การใช้ระยะยาว NSAIDs รวมทั้ง aspirin
ลดความเสี่ยงมะเร็งลำไส้ใหญ่
ฤทธิ์ข้างเคียง
ปวดศีรษะ หูอื้อ มึนงง
ของเหลวคั่งในร่างกาย
คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้องแผมในกระเพาะอาหาร
หอบหืด
ผื่นคัน
พิษต่อไต
ข้อบ่งใช้
แก้ปวด รวมทั้งปวดประจำเดือน
ใช้ลดไข้
ต้านการอักเสบ รวมทั้งโรครูมาตอยด์ ข้อกระดูกอักเสบ เก๊าท์
ใช้เร่งการปิดหลอดเลือด ductus arteriosus เด็กแรกคลอด
Gout
Colchicine
Alkaloids จาก Colchicum autumnale
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ไม่มีผลต่อการขับกรดยูริกออกทางปัสสาวะ
กลไก ยับยั้งการทำงานเม็ดเลือดขาวและการสร้าง
Leukotriene B4
มีฤทธิ์ระงับอาการปวดจากโรคเก๊าท์เท่านั้น
NSAIDs
นิยมใช้ indomethacin
ตัวอย่างเช่น Prednisolone
Uricosuric Agents
เป็นยาเร่งหรือเพิ่มการขับกรดยูริกออกทางปัสสาวะ
กลไก : ยับยั้งการดูดซึมกลับของกรดยูริก
ที่ท่อไตส่วน proximal tubule
ข้อห้าม : ผู้ป่วยที่มีประวัติเป็นนิ่วในท่อไต
Uric acid synthesis inhibitor
Allopurinol
เป็นยาที่มีฤทธิ์ยับยั้งการสังเคราะห์กรดยูริก ด้วยการยับยั้งเอนไซม์ Xanthine oxidase
โรคข้ออักเสบ
Analgesic and
Anti-inflammatory drugs
NSAIDs
Glucocorticoids
ใช้ระงับอาการ
Disease - Modifying Antirheumatic Drugs (DMARDs)
เป็นยาสังเคราะห์ ออกฤทธิ์ส่วนใหญ่โดย
กดระบบภูมิคุ้มกันแบบไม่เฉพาะเจาะจง
มีต่อกระบวนการอักเสบได้มากกว่า
glucocorticoids or NSADs แต่มีพิษมากกว่า
ใช้ในผู้ป่วยระยะ active & progress
Biologic Response Modifiers (BRMs)
ยาชีววัตถุ
ออกฤทธิ์ส่วนใหญ่ผ่านระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย
แบบเฉพาะเจาะจง
นิยมใช้ในกรณีการรักษาด้วยยาอื่นไม่ได้ผล
สารน้ำและสารอาหาร
ทางหลอดเลือดดำ
สารน้ำ
Dextran
สารน้ำเพื่อเพิ่ม plasma volume
ข้อบ่งใช้
ภาวะช็อกเพิ่มการไหลเวียนเลือด ทดแทนการให้เลือดขณะรอเลือกจากห้องผ่าตัด อุบัติเหตุ Burn และเสียเลือด
Dextrose
เป็นน้ำตาลตามธรรมชาติอยู่ในอาหาร และถูกเผาผลาญเป็นคาร์โบไฮเดรตต่อไปได้ผลลัพธ์สุดท้ายให้พลังงานกับเซลล์ได้
ข้อบ่งใช้
รักษาผู้ป่วยที่มีน้ำตาลในเลือดต่ำหรือให้เพื่อทดแทนแคลอรี่
Potassium chloride
บทบาทพยาบาล/
การติดตาม
เมื่อให้ยาใน 5 นาทีแรกต้องดูแลอย่างใกล้ชิด
จับชีพจรเพื่อดูการเต้นผิดจังหวะของหัวใจ
สอบถามการเจ็บที่หลอดเลือด เนื่องจากการผสมเข้มข้นมาก อาจระคายเคืองหลอดเลือดและมีอาการปวดแสบปวดร้อนบริเวณที่ฉีด
สารอาหาร
การให้อาหารอาหารทางหลอดเลือดดำแบบบางส่วน
เป็นวิธีให้สารอาหารเสริมผู้ป่วยที่ได้อาหารทางปากหรือทางสายอาหารอยู่แล้วแต่ไม่เพียงพอ
การให้อาหารทางหลอดเลือดดำแบบสมบูรณ์
เป็นวิธีให้สารอาหารที่ครบถ้วนตามที่ร่างกายต้องการเมื่อผู้ป่วยได้อาหารทางหลอดเลือดดำเท่านั้น
ข้อบ่งใช้
ระบบทางเดินอาหารไม่ทำงาน เช่น severe malabsorption
ต้องการให้ระบบทางเดินอาหารได้พัก เช่น severe pancreatitis
ผู้ป่วยมีภาวะทุพโภชนาการอย่างรุนแรง
หรืออยู่ในภาวะ hypercatabolic state
และไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้มากกว่า 5วัน
ข้อพิจารณา
ความต้องการของสารอาหารที่ผู้ป่วยควรได้รับ
สารอาหาร 6 อย่าง
คาร์โบไฮเดรต
ไขมัน
โปรตีน
วิตามิน
เกลือแร่
น้ำ
ต้องคำนวณความต้องการพลังงานและสารอาหารต่างๆ ก่อนการให้ เนื่องจากการให้ในปริมาณที่ไม่เหมาะสมอาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการให้ TPN ได้