Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นักทฤษฎี - Coggle Diagram
นักทฤษฎี
ทฤษฎีระบบราชการ Bureaucracy ของ Max Weber's
1.หลักลำดับขั้น
การบริหารที่มีลำดับขั้น ทำให้ระบบการสังการและการควบคุมมีความรัดกุม
2.หลักความรับผิดชอบ
เจ้าหน้าที่ทุกคนต้องมีความสำนึกแห่งความรับผิดชอบต่อการกระทำของตน
3.หลักแห่งความสมเหตุสมผล
มีการกำหนดระเบียบวิธีการปฏิบัติงาน
มีการฝึกอบรม, แยกทรัพย์สินส่วนตัว
4.การมุ่งสู่ผลสำเร็จ
ความมีประสิทธิผลในการบริหารงานจะเกิดขึ้นต่อเมื่อมีการแบ่งงานกันทำ
การบริหารจะได้รับประสิทธิผลสูงสุดต่อเมื่อมีการกำหนดวิธีการที่ถูกต้อง
5.หลักการทำให้เกิดความแตกต่างหรือความชำนาญเฉพาะด้าน
การแบ่งส่วนงานตามพื้นที่
การแบ่งงานตามหน้าที่หรือภารกิจที่องค์กรต้องปฏิบัติ
แบ่งงานตามลูกค้าหรือผู้รับบริการ
การแบ่งงานตามขั้นตอนหรือกระบวนการทำงาน
6.หลักระเบียบวินัย
ต้องมีการกำหนดระเบียบ วินัย และบทลงโทษ เพื่อควบคุมความประพฤติของสมาชิกทุกคนในองค์การ
7.ความเป็นวิชาชีพ
ปฏิบัติงานเต็มเวลา
มีความรู้
มีวิธีการจัดองค์การที่มีระบบการทำงานที่ชัดเจน
มีการใช้อำนาจตามสายบังคับบัญชา
ผู้มีอำนาจในระดับสูงตัดสินใจได้ดีกว่าคนในระดับล่าง
Central TopFrederick W.Taylor บิดาแห่งการจัดการตามหลักวิทยาศาสตร์
1.หลักการบริหารในเชิงวิทยาศาสตร์
การบริหารที่ดีที่สุดเป็นศาสตร์ที่แท้จริง ตั้งอยู่บนพื้นฐานของกฎระเบียบและหลักการที่ชัดเจน
2.คัดเลือกบุคคลตามหลักวิทยาศาสตร์การจัดการ
คำนึงถึงความรู้ ความสามารถ ความกระตือรือร้นในการทำงาน
คัดเลือกคนให้เหมาะสมกับงานด้วยความถนัดหรือชำนาญเฉพาะทาง
พิจารณาถึงอนาคตและลักษณะของบุคคล
อาศัยข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ เช่น ทักษะ ความชำนาญงาน
3.ต้องพัฒนาบุคคลแต่ละคนให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด
ผลักดันให้มีการก้าวไปสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น
ติดตามพฤติกรรมการทำงาน
4.สร้างบรรยากาศความร่วมมือในการทำงานภายในองค์กร
แบ่งความรับผิดชอบในงานให้เท่ากันระหว่างผู้บริหารและผู้ใช้แรงงาน
ต่างฝ่ายต้องได้รับมอบหมายงานให้รับผิดชอบ
Henry L. Gantt
แนวคิด
1.การจูงใจคนงานเพื่อเพิ่มประสิทธิกาพในการทำงาน โดยใช้ระบบโบนัส
2.การพัฒนา เพื่อใช้ในการกำหนดแผนและการควบคุมการปฏิบัติงาน
ผลงาน
ได้ประดิษฐ์แผนภูมิขึ้นเพื่อใช้ในการควบคุมแผนงานและโครงการการบริหารเชิงวิทยาศาสตร์ เรียกว่า แผนภูมิแกนต์
หลักการทฤษฎี
การบำรุงรักษาองค์ประกอบมนุษย์
เน้นถึงความร่วมืออย่างกลมกลืนในระหว่างฝ่ายแรงงานและฝ่ายบริหาร
พัฒนาวิธีการใช้กราฟแสดงถึงแผนงานและงานที่จะต้องทำทั้งหมด
เน้นความสำคัญในเรื่องของเวลา ต้นทุนในการวางแผน และการควบคุม
แผนภูมิแกนต์
แกนนอนแสดงถึงเวลาในการทำงานตลอดโครงการ
แกนตั้งแสดงถึงงานหรือกิจกรรมที่ต้องทำ
ทฤษฎีการบริหารจัดการ POCCC และหลักการจัดการองค์กรสู่ความสำเร็จตามแนวคิดของ Henri Fayol
หัวใจของการบริหารจัดการ POCCC
P-Planning : การวางแผน
O - Organizing : การจัดองค์กร
C - Commanding : การบังคับบัญชาสั่งการ
C - Coordination : การประสานงาน
C - Controlling : การควบคุม
หลักในการบริหารจัดการ 14 ประการ
1.การแบ่งหน้าที่และการทำงาน
2.อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ
3.ระเบียบวินัย
4.เอกภาพแห่งการบังคับบัญชา
5.เอกภาพของทิศทางการดำเนินงาน
6.ผลประโยชน์ส่วนบุคคลเป็นรองกว่าประโยชน์ส่วนรวม
7.การให้ผลประโยชน์ตลอดจนค่าตอบแทน
8.สมดุลของการรวมและการกระจายอำนาจ
9.สายการบังคับบัญชา
10.ความเป็นระเบียบและความพร้อมในการทำงาน
11.ความเสมอภาค
12.เสถียรภาพในการทำงาน
13.เสรีภาพในการนำเสนอสิ่งใหม่
14.ความเข้าใจและการไว้วางใจซึ่งกันและกัน