Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วัยรุ่น, กลุ่ม 7 : 012,015,090,096,099,106,146 - Coggle Diagram
วัยรุ่น
5) รูปแบบการส่งเสริมสุขภาพ
3.การพัฒนาทักษะส่วนบุคคล (Development personal skills)
ด้านปัจเจกบุคคล
ด้านจิตใจ
ส่งเสริมการพัฒนาเอกลักษณ์ของตนเองและความมั่นใจในรูปร่าง หน้าตาตนเอง
ส่งเสริมทักษะการปรับตัวและทักษะการยืดหยุ่นอารมณ์และจิตใจ
ด้านร่างกาย
ส่งเสริมการรับประทานที่เหมาะสมกับวัย
ส่งเสริมการออกกำลังกาย
ส่งเสริมความรู้เรื่องเพศศึกษา
ส่งเสริมความรู้ในการป้องกันการติดเชื้อในการมีเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
1.สร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ (Healthy Public Policies)
สถานศึกษามีนโยบายด้านการส่งเสริมสุขภาพ ซึ่งการส่งเสริมสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาสุขภาพ ส่งเสริมการเฝ้าระวังสุขภาพ ส่งเสริมสุขภาพจิตและเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยง
ส่งเสริมบุคลากรในสถานศึกษา โดยพัฒนาบุคลากรให้มีด้านความรู้ด้านสุขภาพและพัฒนาการของวัยรุ่น
4.การสร้างเสริมกิจกรรมของชุมชนให้เข้มแข็ง (Strengthen Community Activities)
ระบบบริการสุขภาพ
ส่งเสริมให้วัยรุ่นเข้าร่วมกิจกรรมด้านสุขภาพ
จัดเวทีประชาคม ร่วมกันสัมมนา ปรึกษา หาความต้องการและปัญหาที่เกิดขึ้นจริงๆในกลุ่มวัยรุ่นเพื่อนำมาแก้ไข จัดทำโครงการ
2.การสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
(
Create Supportive Environment)
ด้านการจัดสิ่งแวดล้อม
จัดทำโครงการค้าขายออนไลน์ส่งเสริมรายได้
ส่งเสริมการจัดกิจกรรมกับเพื่อนเพื่อทำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์สร้างสรรค์
ผลักดันให้เป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โดยมุ่งเน้นสุขศึกษา อนามัยสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ระหว่างบ้านและโรงเรียน
ส่งเสริมให้มีพื้นที่ออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้น
ส่งเสริมให้วัยรุ่นรู้จักการเข้าร่วมทำกิจกรรมต่างๆ
5.การปรับเปลี่ยนบริการสาธารณสุข
(Reoriented Health Service)
ระบบบริการสุขภาพ
กิจกรรมการตรวจคัดกรองสุขภาพเชิงรุกในกลุ่ม
วัยรุ่น เพื่อให้รับบริการได้อย่างทั่วถึงและเท่าเทียม
1) พัฒนาการการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายและจิตใจในวัยรุ่น
ด้านร่างกาย
การเปลี่ยนแปลงทางเพศ
เพศหญิง
กระดูกสะโพกเชิงกรานขยาย
เต้านมขยาย
ขนตามรักเเร้ หัวเหน่า อวัยวะเพศ
อารมร์แปรปรวนง่าย
เพศหญิงมี peak growth velocity และมีประจำเดือน
เพศชาย
เสียงเเตก เช่น ฮอร์โมเทสโทสเตอโรน-กระตุ้นทำให้เสียงมีขนาดโตขึ้น
เพศชายมี growth spurt ฝันเปียก
ขนาดอัณฑะใหญ่ขึ้น
มีหนวด มีสิวเเละกลิ่นตัว
ด้านจิตใจ
มีความรู้สึกทางเพศมากขึ้น
ภาพลักษณ์ของตนเอง
ความเป็นตัวของตัวเอง
ต้องการเป็นอิสระ
อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย และรุนแรง
สภาวะอารมณ์ไม่คงที่
ด้านสังคม
ต้องการเป็นที่ยอมรับจากกลุ่มเพื่อน
มีความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองเเละต่อผู้อื่น
มีมนุษยสัมพันธ์กับคนอื่นได้ดี
ความสนใจเรื่องเพศปรับปรุงตัวให้เข้ากับเพื่อนต่างเพศ
ความสนใจในเรื่องคุ บุคลิกภาพรูปร่างหน้าตา ความสะอาดเรียบร้อย การสนทนาวางท่าทาง
ด้านจิตวิญญาณ
คิดวิเคราะห์ตามจริงได้เอง มองการไกล
ตัดสินใจด้วยเหตุผล
เข้าใจศีลธรรมจรรยา
มีมโนธรรมดี เป็นคนดี
สติปัญญาเจริญมากขึ้นเพื่อเพิ่มพูนความรู้ความสามารถ
2) การประเมินภาวะสุขภาพในวัยรุ่นแบบองค์รวม
แบบประเมินสุขภาวะทางจิตใจ
แบบประเมินกลยุทธ์ในการรับมือกับความเครียด
แบบประเมินความรู้สึกเครียด
แบบประเมินความแข็งแกร่งและยืดหยุ่นของชีวิต
(Connor-Davidson Resilience Scale,CD-RISC)
แบบประเมินภาวะซึมเศร้า (9Q)
การประเมินทางด้านจิตวิญญาณ
แบบประเมินความผาสุขด้านจิตวิญญาณ
เป็นแบบสอบถามปลายเปิดเพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึกในการอธิบายถึงความเข้าใจมิติทางจิตวิญญาณ
ซึ่งเกี่ยวกับความเชื่อ ค่านิยม ศาสนา สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการดำเนินชีวิต
แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป
เพศ
อายุ
น้ำหนัก
ส่วนสูง
ระดับชั้นการศึกษา
ประวัติการเจ็บป่วย
แบบประเมินทางด้านสังคม
แบบประเมินการรับรู้การสนับสนุนทางสังคมแบบพหุมิติ (Multidimensional Scale of Perceived Social Support, MSPSS)
ใช้วัดการรับรู้การสนับสนุนทางสังคม
3) ทักษะการสื่อสารเชิงบวกในวัยรุ่น
การทักทาย
ภาษากาย ท่าทางการแสดงออกที่เป็นมิตร ทำให้เกิดความเป็นกันเอง อยากเข้าใจ อยากช่วยเหลือ ไม่ตัดสินความผิด พยายามเรียกชื่อของวัยรุ่นมากกว่าการใช้สรรพนามอื่น หยิบยกข้อดี จุดเด่นด้านบวกมาใช้เป็นจุดเริ่มต้น
การสำรวจลงไปในปัญหา
สร้างทัศนคติให้วัยรุ่นรู้สึกว่า "ผู้ใหญ่สนใจและฟัง" ให้ความเชื่อมั่นเรื่องการรักษาความลับเป็นสำคัญ ระหว่างนั้นควรสังเกตความร่วมมือและการเปิดเผยข้อมูลเพื่อประเมินความไว้วางใจ รวมถึงอาจมีเรื่องอื่นที่ยังกังวลหรือลังเลที่จะเปิดเผย
กระตุ้นให้บอกเล่าและถามสะท้อนความคิด ความรู้สึก ความต้องการ
ให้วัยรุ่นกล้าพูด กล้าบอกความคิด ความรู้สึกและความต้องการ โดยเข้าใจและยอมรับว่าการบอกเรื่องเหล่านี้กับเพื่อนและคนอื่นๆ ได้เป็นเรื่องปกติ การกระตุ้นให้เล่าเรื่องราว ทำได้โดยใช้ชุดคำถามที่จูงใจ ตามปัญหาหรือเรื่องราวที่เกิดขึ้น
การฟังอย่างตั้งใจและคิดวิเคราะห์ไปด้วย
สนใจฟังอย่างให้เกียรติความคิดวัยรุ่นโดยไม่ตีกรอบหรือตัดสินด้วยทัศนคติของตนเอง การพยายามเข้าใจ จดจำรายละเอียดข้อมูลต่างๆ ได้ ทำให้วัยรุ่นรู้สึกว่าผู้ใหญ่สนใจและพยายามเข้าใจความคิดความรู้สึกของเขาจริงๆ ก่อให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดี มีความรู้สึกเป็นพวกเดียวกันมากขึ้น
ข้อควรระวังของการตั้งคำถาม คือ ควรหลีกเลี่ยงการใช้คำถามที่ขึ้นต้นว่า “ทำไม” เวลาวัยรุ่นกล่าวถึงพฤติกรรมบางอย่างไม่ดี เพราะทำให้วัยรุ่นรู้สึกถูกตำหนิ และอาจพยายามหาเหตุผลเข้าข้างตนเองมากขึ้น ซึ่งอาจนำมาซึ่งการสูญเสียความสัมพันธ์ได้ง่าย
การชมเชย
การตำหนิวัยรุ่นอย่างรุนแรงก่อให้เกิดการต่อต้าน วิธีการที่ทำให้วัยรุ่นยอมรับ และไม่เสียความรู้สึกด้านดีของตนเอง ทำได้ด้วยการตำหนิที่ พฤติกรรม แทนการตำหนิที่ตัววัยรุ่น เมื่อเกิดพฤติกรรมไม่ดี ครูควรมีเทคนิคในการตักเตือนให้นักเรียนค่อยๆ คิด และยอมรับด้วยตัวเองเป็นการส่วนตัว โดยไม่สร้างความรู้สึกอับอายเสียหน้า
ในทางกลับกัน เมื่อเกิดพฤติกรรมดี ถ้ามีโอกาสควรชมต่อหน้าผู้อื่นหรือให้ผู้อื่นร่วมชื่นชมด้วย เพื่อสร้างความภาคภูมิใจและเสริมให้เด็กรู้สึกดีและชื่นชมตัวเอง
การประคับประคองอารมณ์และจิตใจ
วัยรุ่นจะรู้สึกดีขึ้นเมื่อเกิดความหวังด้านบวก ความเข้าใจที่ดีขึ้น การได้ระบายความรู้สึก ได้รับการช่วยเหลือและมองเห็นความหวังในการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น ก่อนจะจบการพูดคุย ครู ผู้ปกครองควรแสดงความคาดหวังด้านบวกที่มีต่อวัยรุ่น มองเขาในแง่ดี และให้โอกาสเขาได้ใช้เวลาคิด ไตร่ตรองพฤติกรรมด้วยตัวเอง
สรุปและยุติการสนทนา
ในช่วงท้ายของการสื่อสารนั้น ควรมีการสรุปสิ่งที่ได้คุยกัน โดยให้วัยรุ่นสรุปด้วยตนเองก่อน อีกทั้งตอบคำถามที่วัยรุ่นอาจจะมีข้อสงสัย วางแผนอนาคต หรือทำการนัดหมายครั้งต่อไป การยุติการสนทนาที่ดีจะช่วยให้วัยรุ่นเกิดความหวังในการเปลี่ยนแปลงตนเองให้ดียิ่งขึ้น
4) ปัจจัยกำหนดสุขภาพในวัยรุ่น
สิ่งแวดล้อม
ฮอร์โมนเพศ
วัยรุ่นได้รับวัฒนธรรมหลากหลายจากกลุ่มต่างๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
การสื่อสารเเละเทคโนโลยีสารสนเทศ
วัยรุ่นที่ได้รับการศึกษาระดับสูงจะมีการสร้างเสริมสุขภาพดีกว่าวัยรุ่นที่ได้รับการศึกษาระดับต่ำ
วัยรุ่นจะมีพฤติกรรมทำตามจากสื่อหรือบุคคลใกล้ชิด
ระบบบริการสุขภาพ
ระบบประกันสุขภาพ
ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ
ระบบบริการสุขภาพ
ปัจเจกบุคคล
พฤติกรรมการใช้ชีวิต
กรรมพันธ์ุ
ความเชื่อเเละทัศนคติ
จิตวิญญาณ
เพศ
อายุ
กลุ่ม 7 : 012,015,090,096,099,106,146