Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
CYSTS AND TUMOR OF THE JAW, นางสาว สากีน๊ะ เจะเตะ เลขที่ 31 - Coggle…
CYSTS AND TUMOR OF THE JAW
CYSTS
นิยาม
โครงสร้างคล้ายถุงปิดที่ผิดปกติภายในเนื้อเยื่อที่มีของเหลว ก๊าซ หรือสารกึ่งของแข็ง
general clinical feature of cysts
cysts จะเจริญช้าๆ ไม่ค่อยมีอาการ
อาจพบได้จากการที่เราไป X-ray
อาการและอาการแสดงที่พบได้ในคลินิก
การขยายตัวของกระดูก
จะพบ eggshell-like
eggshell cracking
cysts ทะลุกระดูก
คลำแล้วรู้สึกมีของเหลวดึบๆ
ถ้าใหญ่มากๆ จำเป็นต้องได้รับการรักษา
Radiographic examination
การถ่ายฟิล์มเพื่อวิจฉัย ถ่ายฟิล์มเดียวอาจไม่เห็น เพราะ 2 มิติ ต้องถ่าย 2 ฟิล์ม เพื่อยืนยัน เนื่องจากมุมต่างกัน วิวต่างกัน การวินิจฉัยจะมีความแม่นยำมากกว่า
Radiological signs
มีลักษณะเป็นทรงกลมหรือรูปไข่เป็นเงาโปร่งรังสี
มีกระดูกบางๆล้อมรอบ
cystsส่วนใหญ่เติบโตโดยhydrostatic
mechanismsส่งผลให้รูปทรงกลม
ส่งผลกระทบต่อโครงสร้างที่อยู่ติดกัน
ขัดขาง ID canal
อาจกินกระดูกรอบๆจนบาง
อาจทะลุกระดูกคอร์เทกซ์
ฟันไม่เรียงซ้อน
Classification of cysts
Odontogenic cysts
พบได้บ่อย
เรียงรายไปด้วยเยื่อบุผิวที่ได้รับ
จากโครงสร้างการพัฒนาฟัน
Rests of Malassez: radicular cyst, residual cyst
ละลาย epithelium
พัฒนาในบริเวณที่มีฟันของกราม
ชนิด
Residual Cysts
Dentigerous Cyst
เป็น Cyst ที่อยู่ล้อมรอบ crown ของฟัน
Radicular Cyst (Apical Cysts)
พบได้มากที่สุด
fluid-filled lesions
พบ maxilla มากว่า mandible
เติบโตช้า,
บวมไม่เจ็บปวดอาจจะฟันที่ตายแล้ว ฟันที่ผ่านการรักษารากฟันแล้ว
Eruption Cyst
cyst จะนุ่ม บวม ปกติมีสีฟ้าหรือสีม่วง
พบฟันหน้าบน และเด็กที่ฟันแท้ที่กำลังจะข้ำ
Odontogenic Keratocyst (OKC)
พบมากที่ molar/ramus
สามารถฟื้นฟูกลับมาได้สูง
Lateral Periodontal Cyst (LPC)
ไม่ได้อักเสบ เป็น root vital tooth
อยู่ระหว่างรากฟันของฟัน
Gingival Cyst
Gingival Cyst of Newbor
ไม่จำเป็นต้องรักษา
Gingival Cyst of Adult
พบไม่มาก
เจอในคนอายุ 40 ปี
ไม่ค่อยมีอาการ
มีก้านอยู่ตรงฐาน
Glandular Odontogenic Cyst
Calcifying Odontogenic Cyst (COC)
Non-Odontogenic cysts
Nasopalatine duct cyst
Nasolabial cyst
very rare
TUMOR
Tumor
Benign Tumor
ตอบสนองต่อการักษาได้ดี
แต่ถ้าไม่รักษาก็จะทำให้ใหญ่ขึ้น ยากต่อการักษา
โดยปกติจะอยู่กับที่
Classification of Tumors
Ameloblastoma
เนื้องอกที่เกิดจากรากฟันพบบ่อยที่สุด
ส่วนใหญ่เกิดขึ้นที่ขากรรไกรล่าง แต่สามารถ
เกิดได้ในกระดูกขากรรไกร posterior maxilla
เติบโตช้า
การกลับเป็นซ้ำสูงสามารถเติบโตได้ถึงขนาดที่ใหญ่โตถ้าปล่อยไว้ไม่รักษา
(soap-bubble) radiolucent
Odontoma
มี 2ประเภท -Complex odontoma
-Compound odontoma
Odontogenic Myxoma
มักเกิดขึ้นในขากรรไกรล่าง
การตรวจชิ้นเนื้อแสดงให้เห็น loose myxoid tissue พร้อมการเกิดพังผืด
Benign แต่ locally aggressive
Cemento-ossifying Fibroma (COF)
รอยโรคพังผืดของขากรรไกร
rare benign tumor ซึ่งมักถูกค้นพบโดยบังเอิญ
มักเป็นแบบค่อยเป็นค่อยไป แผลโตขนาดมหึมา มีผลเสียรูปหากไม่ได้รับการรักษา
solid mass และ
teeth are often displaced
Cementoblastoma
neoplasm of cementum
พบบ่อยที่สุดรอบราก lower
first molars
extruded and can
become painful but remain vital
Radiopaque cementum-like mass
Oral Squamous Cell Carcinoma (OSCC)
Malignant Tumor (Cancer)
ดื้อต่อการรักษา
กระจายยังส่วนอื่นๆ ของร่างกายได้ง่าย
การเติบโตของมะเร็ง(cancerous growths)
ตรวจเจอซ้ำได้ง่าย
Neoplasm
การเติบโตของเซลล์ใหม่ที่ผิดปกติ
เซลล์ในเนื้องอกมักจะเติบโตมากกว่าเร็วกว่าเซลล์ปกติและจะดำเนินต่อไป
หากไม่ได้รับการรักษา
เมื่อเนื้องอกเจริญเติบโตสามารถกระทบและ
สร้างความเสียหายต่อโครงสร้างที่อยู่ติดกัน
benign (usually
curable) or malignant (cancerous) growth
นางสาว สากีน๊ะ เจะเตะ เลขที่ 31