Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
รูปแบบการ ปรับตัวของรอย - Coggle Diagram
รูปแบบการ
ปรับตัวของรอย
ทฤษฎีการพยาบาลที่เลือกสรร : The Roy Adaptation Model
ความสำคัญของการปรับตัว
พฤติกรรมการปรับตัวสำเร็จ (Adaptive response) บรรลุเป้าหมายของการปรับตัว
พฤติกรรมการปรับตัวที่ไม่มีประสิทธิภาพ (Ineffective responses) ไม่บรรลุเป้าหมายของการปรับตัวหยุดยั้งการเจริญเติบโต
ผลลัพธ์ของการปรับตัวคือ พฤติกรรม (Behavior) คือ การแสดงออกหรือปฏิกิริยาการตอบสนองภายใน/ภายนอกของบุคคล
ประวัติผู้สร้างรูปแบบการ
ปรับตัวของรอย
ซีสเตอร์ แคลลีสตา รอย (Sister Callista Roy)
เกิด 14 ตุลาคม 1939 ที่เมือง Los Angeles
ทำงานเป็น พยาบาลประจำแผนกเด็ก นักวิจัย และอาจารย์
จบปริญญาโทสาขาวิชาการพยาบาลเด็ก จบปริญญาโท-เอกสาขา Sociology จากมหาวิทยาลัย University of California เมือง Los Angeles
มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักทั่วโลก
การปรับตัว (Adaptation)
กระบวนการและผลลัพธ์ของความคิดและความรู้สึกของบุคคลหรือหลายกลุ่มคน โดยใช้ความตระหนักรู้
ข้อตกลงเบื้องต้น (Assumptions)
ข้อตกลงเบื้องต้นด้านปรัชญา (Philosophy assumption)
ข้อตกลงเบื้องต้นด้านวิทยาศาสตร์ (Scientific assumption)
ข้อตกลงเบื้องต้นด้านวัฒนธรรม (Cultural assumptions)
มโนทัศน์หลักของรูปแบบการปรับตัวของรอย
สุขภาพ (Health)
สภาวะและกระบวนการดำรงชีวิตที่อยู่รวมกันของบุคคลและสิ่งแวดล้อมทั้งหมดได้อย่างสมบูรณ์
สิ่งแวดล้อม (Environment)
สภาพการณ์หรือสิ่งที่อยู่รอบๆ ที่มี
ความสัมพันธ์กับบุคคล แหล่งของตัว
ป้อนเข้าและทำหน้าที่เป็นสิ่งเร้า
2) สิ่งเร้าร่วม (Contextual stimuli) สิ่งอื่นๆทั้งหมดซึ่งก่อให้เกิดผลเสริม
กับผลของสิ่งเร้าตรง เช่น การรักษาด้วยรังสีในผู้ป่วยมะเร็ง
3) สิ่งเร้าแฝง (Residual stimuli) สิ่งที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการปรับตัว ในสถานการณ์ขณะนั้น เช่น ความเชื่อ ทัศนคติ ปรัชญา วัฒนธรรม หรือสิ่งลี้ลับ เป็นต้น
1) สิ่งเร้าตรง (Focal stimuli) สิ่งกระตุ้นทั้งภายในและภายนอก เช่น โรคตับแข็ง โรคมะเร็ง โรคไตวายเรื้อรัง เป็นต้น
บุคคล (Person)
1) กลไกการควบคุม (Regulator subsystem) ตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นอย่างอัตโนมัติ
2) กลไกการรู้คิด (Cognator subsystem) ตอบสนองผ่านช่องทางของอารมณ์
รูปแบบการปรับตัว
(Mode of adaptation)
การปรับตัวด้านร่างกาย
(Physiologic- physical mode)
1.1 การปรับตัวด้านร่างกายในหมวดชีวภาพของบุคคล (Physiologic mode)
1) การปรับตัวตามความต้องการพื้นฐาน 5 ประการสำหรับการดำรงชีวิต
1.1.3 การขับถ่าย (Elimination)
1.1.4 กิจกรรมและการพักผ่อนนอนหลับ (Activity and rest)
1.1.2 โภชนาการ (Nutrition)
1.1.1 การได้รับออกซิเจน (Oxygenation)/ อากาศ
1.1.5 การปกป้องคุ้มครอง (Protection)
2) การปรับตัวของร่างกายตามกระบวนการที่ซับซ้อน 4 ประการได้แก่
1.2.2 สารน้ำและอิเล็กโทรลัยท์ (Fluid and electrolytes)
1.2.3 การทำหน้าที่ของระบบประสาท (Neurological function)
1.2.1 การรับความรู้สึก (Senses)
1.2.4 การทำหน้าที่ของระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine function)
1.2 รูปแบบการปรับตัวหมวดกายภาพ (Physical mode)
สำหรับกลุ่มคน โดยการปรับตัวด้านนี้สัมพันธ์กับแหล่งปฏิบัติการขั้นพื้นฐาน ได้แก่ อาสาสมัคร(participants)
การปรับตัวด้านอัตมโนทัศน์ (Self-concept mode)
เป็นความรู้สึกและความเชื่อเกี่ยวกับตนเองทั้งด้านภาพลักษณ์ ความคิด
การปรับตัวด้านบทบาทหน้าที่ (The role function mode)
3.2 บทบาททุติยภูมิ (Secondary role) เช่น บทบาทการเป็นบิดา มารดา
3.3 บทบาทตติยภูมิ (Tertiary role) เช่น การดำรงบทบาทของนายกรัฐมนตรี
3.1 บทบาทปฐมภูมิ (Primary role) ถูกกำหนดด้วยเพศ อายุ และระยะพัฒนาการ
การปรับตัวด้านการพึ่งพาอาศัย (Interdependence mode)
การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเพื่อให้มี
มุมมองด้านความรัก การให้ และการมีคุณค่า
การพยาบาล (Nursing)
ระดับการปรับตัว
ระดับการปรับตัว (Adaptation level)
ซึ่งระดับการปรับตัวในชีวิต 3 ขั้นตอน
3) ขั้นบกพร่อง/อันตราย (Compromised level) ภาวะที่กระบวนการชดเชยทำงานไม่เพียงพอ
2) ขั้นต้องการชดเชย (Compensatory level)กระบวนการชีวิตปกติถูกรบกวนจากสิ่งเร้า
ภายนอก
1) ขั้นปกติ (Integrated level) มีการปรับตัวต่อสิ่งเร้าต่างๆ
การประยุกต์ใช้รูปแบบการปรับตัวของรอย
ขั้นที่ 3. การกำหนดข้อวินิจฉัยการพยาบาล (Nursing diagnosis)
กระบวนการตัดสินใจกำหนดข้อความที่สื่อถึงสถานะการปรับตัวของบุคคล
ขั้นที่ 4. การกำหนดเป้าหมายการส่งเสริมการปรับตัว
(Goals Setting: to promote adaptation)
เป็นข้อความที่แสดงถึงผลลัพธ์ที่เป็นพฤติกรรมของการปรับตัวที่
ต้องการให้เกิดขึ้นในทางบวก
ขั้นที่ 2. การประเมินสิ่งเร้า (Assessment of stimuli)
ประเมินสิ่งเร้าที่ทำให้เกิดพฤติกรรรมนั้นๆ
ขั้นที่ 5. การบำบัดทางการพยาบาล (Implement intervention)
เน้นทั้งสิ่งเร้าและกระบวนการเผชิญ โดยการวางแผนกำหนดกิจกรรมในการส่งเสริม
การปรับตัวด้วยการจัดการสิ่งเร้า
ขั้นที่ 1. การประเมินพฤติกรรมการปรับตัว (Assessment of behavior)
การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการปรับตัวของบุคคล
ขั้นที่ 6. การประเมินผล (Evaluation)
การประเมินผลภายหลังจากที่พยาบาลปฏิบัติการพยาบาลแล้ว โดยประเมินพฤติกรรมการปรับตัวของบุคคล ตามเป้าหมายการปรับตัวที่ตั้งไว้