Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิศวกรรมความปลอดภัยในการควบคุมและการป้องกันสารเคมีอันตรายรั่วไหล,…
วิศวกรรมความปลอดภัยในการควบคุมและการป้องกันสารเคมีอันตรายรั่วไหล
การรั่วไหลของสารเคมีอันตรายและผลกระทบที่เกิดขึ้น
นิยาม
สารเคมีอันตราย
สาร สารประกอบ สารผสม ซึ่งอยู่ในรูปของแข็ง ของเหลว และก๊าซที่มีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่าง
มีพิษ กัดกร่อน ระคายเคือง
ทำให้เกิดการระเบิด
มีกัมมันตรังสี
การรั่วไหลของสารเคมีอันตราย
การเกิดการรั่วไหลของสารเคมีปริมาณมาก จากถังกักเก็บ หรือจากระบบท่อ หรือจากระบวนการผลิต
ความล้มเหลวของอุปกรณ์
ความผิดพลาดที่เกิดจากคน
เกิดจากสาเหตุที่ 1 2 รวมกัน
ประเภทของการรั่วไหลของสารเคมีอันตราย
การรั่วไหลสถานะของเหลว
การรั่วไหลของเหลวที่ระเหยได้สูง
การรั่วไหลของเหลวที่ระเหยได้ต่ำ
การรั่วไหลสถานนะของก๊าซ
การรั่วไหลแบบ Plume Model
การรั่วไหลแบบ Puff Model
การรั่วไหลในสองสถานะ
ของเหลวที่เก็บกักภายใต้ความดันสูง
ของเหลวที่เก็บกักภายใต้ความดันต่ำ
ผลกระทบที่เกิดจากการรั่วไหลของสารเคมีอันตราย
ผลกระทบจากการรั่วไหลของสารพิษ
ผลกระทบจากการระเบิด
ผลกระทบจากการเกิดไฟไหม้
ระบบการตรวจสอบการรั่วไหลของสารเคมีอันตราย
หลักการตรวจสอบของก๊าซและไอระเหย
อุปกรณ์ตรวจจับก๊าซ
Gas Sensor
Electrical Signal
Meter
ชนิดของอุปกรณ์ตรวจจับก๊าซ
Infrared Gas Sensors
Photoionization Detector
ปัจจัยที่ควรพิจารณาในการเลือกอุปกรณ์ตรวจจับก๊าซ
1.พิจารณาวัตถุประสงค์ในการใช้งาน
2.พิจารณาการตั้งค่าระดับความเข้มข้นของก๊าซที่จะส่งให้เครื่องส่งสัญาณเตือน
3.เลือกชนิดของอุปกรณ์ตรวจจับก๊าซให้สอดคล้องกับประเภทของก๊าซที่ต้องการตรวจการรั่ว
การตรวจสอบการรั่วไหลของสารประกอบอินทรีย์แบบเคลื่อนที่ได้
เครื่องตรวจวัดไอระเหยของสารประกอบอินทรีย์แบบเคลื่อนที่ได้
โพรบ
ห้องอิออน
อุลตราไวโอเลตแลมป์
ส่วนแสดงผลและบันทึกข้อมูล
จุดตรวจวัดไอระเหยของสารประกอบอินทรีย์แบบเคลื่อนที่ได้
วาล์ว
หน้าแปลนและจุดเชื่อมต่อ
ปั๊มและเครื่องอัดอากาศ
อุปกรณ์ระบายความดัน
ท่อระบายจากการผลิต
การประเมินการรั่วไหลของสารเคมีอันตราย
การประเมินการรั่วไหลของเคมีอันตราย
การประเมินโดยใช้แนวทางอย่างง่าย
การใช้แบบจําลองคอมพิวเตอร์แบบง่าย
การใช้แบบจําลองคอมพิวเตอร์ที่ซับซ้อนยิ่งขึ้น
การใช้แบบจําลองคอมพิวเตอร์ ALOHA
โปรแกรม ALOHA เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปหนึ่งที่สามารถนำมาใช้ในการจัดการความเสี่ยงและอุบัติภัยฉุกเฉินได้
ลักษณะโปรแกรม ALOHA ที่ใช้ในการศึกษา
โปรแกรมไม่สามารถประเมินผลจากการ
ระเบิด ปฏิกิริยาต่อเนื่องจากเพลิงไหม้
ปฏิกิริยาที่เกิดจากการรวมตัวของสารเคมี
หลังจากการรั่วไหล
ความน่าเชื่อถือของบริเวณที่ได้รับผลกระทบขึ้นอยู่กับความถูกต้องของข้อมูสภาพอากาศ
ข้อจํากัดของโปรแกรม ALOHA
ใช้ไม่ได้ในกรณีของเหลวนั้นไม่ระเหย
หรือเป็นผง
ถังเคมีอย่บนพาหนะเคลื่อนทที่
สถานที่ไม่เปิดโล่ง
การประเมินความร้ายแรงของโปรแกรม ALOHA
แหล่งกําเนิดของการรั่วไหล
สภาพอุตุนิยมวิทยา
ขั้นตอนการประยุกต์ใช้แบบจำลองคอมพิวเตอร์ ALOHA
1.เปิดโปรแกรม ALOHA
2.การเลือกสถานที่เกิดการรั่วไหล
3.การเลือกชนิดของอาคารที่เกิดเหตุรั่วไหล
4.การตั้งวันเวลาที่รั่วไหล
การกําหนดสารเคมีที่จะให้รั่วไหล
6.การกำหนดข้อมูลสภาวะอากาศของที่ตั้งอาคาร
7.การกำหนดภาชนะบรรจุสารที่จะให้รั่วไหล
8.ผลการกระจายตัวของสารเคมีที่รั่วไหล
9.ผลการรั่วไหลของสารเคมีในรูป Footprint
ค่ามาตรฐานที่กําหนดขอบเขตอันตราย ที่มีการใช้งานกันในโปรแกรม ALOHA
การลุกติดไฟและการระเบิด
สีแดง
10 กิโลวัตต์/ตารางเมตร (อาจเสียชีวิตได้ภายใน 60วินาที)
สีส้ม
5 กิโลวัตต์/ตารางเมตร (เกิดการไหม้ระดับ2 ภายใน 60วินาที)
สีเหลือง
2 กิโลวัตต์/ตารางเมตร (เกิดอาการปวดร้อนภายใน 60 วินาที)
ความเป็นพิษของสารเคม
ค่า AEGL
ค่า ERPG
ค่า TEEL
วิธีการป้องกันและควบคุมการรั่วไหลของสารเคมีอันตราย
การป้องกันการรั่วไหล
ของสารเคมีอันตราย
การเลือกที่ตั้งของโรงงาน
โรงงานที่ก่อตั้งขึ้นมาใหม
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับที่ตั้งของโรงงาน
การวางผังโรงงาน
การกําหนดระยะห่างเพื่อความปลอดภัย
การจัดแบ่งพื้นที่อันตราย
การบ่งชี้แหล่งที่มีศักยภาพในการรั่วไหล
•การบ่งชี้แหล่งกําเนิดประกายไฟ
การจัดแบ่งชั้นพื้นทที่
การกําหนดข้อปฏิบัติเพื่อป้องกันการรั่วไหลของสารเคมีอันตราย
ระบบการอนุญาตให้เข้าปฏิบัติงาน
ระบบการตัดตอน
การควบคุมมการรั่วไหลของสารเคมีอันตราย
วาล์วตัดตอนฉุกเฉิน
อุปกรณ์หยุดการรั่วไหลฉุกเฉิน
การใช้โฟมยับยั้งไอระเหย
การใช้นํ้าฉีด
กําแพงกั้นไอระเหย
ทํานบ
นางสาวอิสริยา ณรงค์ 612051255