Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Pender's Health Promotion Model - Coggle Diagram
Pender's Health
Promotion Model
ความหมายของพฤติกรรมสุขภาพ
กิจกรรมหรือการกระทำใดๆ ของปัจเจกบุคคล เพื่อป้องกันหรือบำรุงรักษาสุขภาพ โดยไม่คำนึงถึงผลสัมฤทธิ์
การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพทั้งภายในและภายนอก สามารถวัดได้
ประเภทของพฤติกรรมสุขภาพ
3.พฤติกรรมที่เป็นบทบาทของการเจ็บป่วย
(Sick role behavior) : รับประทานยาตามแแพทย์สั่ง
4.พฤติกรรมเสี่ยง (Risk behavior)
2.พฤติกรรมการเจ็บป่วย (Illness behavior)
: การแสวงหาการรักษาพยาบาล
5.พฤติกรรมดูแลตนเอง (Self-care behavior)
: ป้องกัน ส่งเสริม บำบัด และฟื้นฟู
1.พฤติกรรมการป้องกันโรค
(Preventive health behavior)
ลักษณะของพฤติกรรม
1.พฤติกรรมที่พึงประสงค์หรือพฤติกรรมเชิงบวก (Pbehavior): ปฏิบัติแล้วส่งผลดีต่อสุขภาพ
2.พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์หรือพฤติกรรมเชิงลบ (behavior):
ปฏิบัติแล้วจะส่งผลเสียต่อสุขภาพ
ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมสุขภาพ
ที่ส่งผลต่อการให้ความรู้ด้านสุขภาพ
1.ความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคม
2.การโฆษณาจากสื่อ
3.ค่านิยม
4.ความเชื่อ ประเพณี และหารปฏิบัติ
5.การศึกษา
6.ศาสนา
7.การคมนาคม
8.ความหลากหลายทางเชื้อชาติ
9.ที่ตั้งและสภาพท้องที่
10.อิทธิพลกลุ่ม
การพัฒนาทฤษฎี
Health Promotion Mode
Health Promotion Model ฉบับปี ค.ศ. 1987
1.การเห็นความสำคัญของสุขภาพ (Importance of health)
2.รับรู้ว่าสุขภาพสามารถควบคุมได้
(Perceived control of health)
3.รับรู้ความสามารถของตน
(Perceive self – efficacy)
4.คำจำกัดความของสุขภาพ
5.การรับรู้สภาวะสุขภาพ
(Perceived health status)
6.การรับรู้ประโยชน์ของพฤติกรรม (Perceived benefits of behaviors)
7.การรับรู้ถึงอุปสรรคของพฤติกรรม (Perceived barriers to health prombehaviors)
8.องค์ประกอบอื่น เช่น อายุ การศึกษา
Health Promotion Model
ฉบับปี ค.ศ.1996 ปรับปรุงใหม
มองอย่างเป็นองค์รวม
ให้ความสำคัญกับบริบทที่เกี่ยวข้อง
ระบุแนวทางการพยาบาลไว้ชัดเจน
1.พฤติกรรมเดิม (Prior related behavior)
พฤติกรรมในอนาคต ได้รับอิทธิพลจาก
ความสำเร็จ หรือล้มเหลว
2.กิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับความรู้สึกทั้งด้านบวก
และด้านลบ (Activity-related affect)
3.การยึดมั่นต่อแผนปฏิบัติ (Commitment to a plan of action)
4.ความต้องการ ความชอบที่เกิดขึ้นแทรกทันที (Immediate competing demapreferences)
ข้อตกลงเบื้องต้นของทฤษฎี
(Assumptions of Health Promotion Model)
บุคคลจะสร้างเงื่อนไขของการดำรงอยู่
: มนุษย์ทุกคนมีเป้าหมายสุขภาพที่ดี
บุคคลมีความสามารถสะท้อนการตระหนักรู้และการประเมินความสามารถของตน
บุคคลมองคุณค่าของการเติบโตในทางบวกและพยายามที่จะไปให้ถึงเป้าหมาย
บุคคลหาวิธีการที่จะทำให้พฤติกรรม
ดำเนินไปอย่างดี
บุคคลมีความซับซ้อนในลักษณะร่างกาย
อารมณ์ สังคม : บุคคลจะมีตัวแปรทั้งภายใน และภายนอก ต่อการกระทำพฤติกรรมใดๆ
บุคลากรทางสุขภาพเป็นองค์ประกอบ
ส่วนหนึ่งของสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีอช่วงชีวิต
การปรับเปลี่ยนมุมมองต่อตนเอง
ระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อม
คำอธิบายแบบจำลอง
ส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
คุณลักษณะของบุคคลและประสบการณ์ของบุคคล (Individual characteristicsexperiences)
1.1 พฤติกรรมเดิมที่เกี่ยวข้อง
(Prior related behavior)
ผลโดยตรง
จากพฤติกรรมสุขภาพเดิมทำให้เกิดเป็นลักษณะนิสัย
ผลโดยอ้อม
พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
โดยผ่านการรับรู้ถึงความสามารถของตน
1.2 ปัจจัยส่วนบุคคล
(Personal factor/influence)
ชีววิทยา (Biological)
จิตวิทยา (Psychological)
สังคมและวัฒนธรรม (Social culture)
การคิดรู้และอารมณ์ที่จำเพาะต่อพฤติกรรม (Behavioral specific cognitions and affect)
1.การรับรู้ถึงประโยชน์ของการปฏิบัติ
(Perceived benefits of action)
2.การรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติ
(Perceived barriers to action)
3.การรับรู้ความสามารถของตน
(Perceived Self – Efficacy)
4.กิจกรรมที่สัมพันธ์กับอารมณ์
(Activity – related affect)
5.อิทธิพลความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล (Interpersonal influences)
6.อิทธิพลของสถานการณ์
(Situational influences)
7.ความยึดมั่นต่อแผนปฏิบัติ
(Commitment to a plan of action)
การยึดมั่นที่จะดำเนินตามการกระทำ
เฉพาะในเวลา สถานที่ และบุคคล
แยกแยะกลยุทธ์ในการที่จะปฏิบัติ
ผลลัพธ์ของพฤติกรรม (Behavioral Outcome)
คุณลักษณะของบุคคล
ประสบการณ์ของบุคคล
3.1ความต้องการและความชอบที่เกิดขึ้นขณะนั้น (Immediate Competing DemaPreferences)
1.Competing demands
หมายถึง บุคคลสามารถเอาชนะได้บ้าง
2.Competing preferences
หมายถึง บุคคลมีพลังอำนาจในการที่จะ
ควบคุมเล็กน้อย
3.2 พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
(Health promoting behavior)
เป้าหมายสูงสุด
ผล คือ ทำให้เกิดสุขภาพที่ดี
การวางแผนส่งเสริมสุขภาพ
Assess current stage : ประเมินกิจกรรมระยะปัจจุบัน
Contemplation : พิจารณาปัญหา ตั้งเป้าหมาย และเกณฑ์การประเมินผล
Planning : วางแผนให้สอดคล้องกับปัญหา และวัตถุประสงค์
Action : ปฏิบัติตามแผนที่วางไว้
Maintenance : กระตุ้นพฤติกรรมเชิงบวก นำไปปรับปรุงแผนการส่งเสริมสุขภาพ