Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
OMPHALOCELE & GASTROSCHISIS ความพิการแต่กำเนิดของผนังหน้าท้องเเบบ …
OMPHALOCELE & GASTROSCHISIS
ความพิการแต่กำเนิดของผนังหน้าท้องเเบบ
มีถุงหุ้มเเละไม่มีถุงหุ้ม
การพยาบาล
Omphalocele ใช้ผ้าแห้งสะอาดปราศจากเชื้อหนาๆ คลุมบริเวณ omphalocele ไม่ควรใช้ผ้าเปียกเพราะจะทำให้ผนังหุ้มเปื่อยแตกง่าย ในกรณีที่ผนังฉีกขาดให้ซุบน้ำเกลืออุ่น(normal saline หุ้มไว้ชั้นหนึ่งก่อนเพื่อป้องกันลำไส้เเห้งเกินไป
Gastroschisis ห่อตัวเพื่อป้องกันร่างกายสูญเสียความร้อน หุ้มลำไส้ด้วยผ้าก็อสปราศจากเชื้อชุบน้ำเกลืออุ่นแล้วหุ้มด้วยผ้าอีกหลายๆชั้นเพื่อป้องกันการติดเชื้อ (infection) การสูญเสียน้ำ(hypovolemia) และความร้อนของร่างกาย (hypothermia)
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ 10% D/N/4 ในกรณีที่ถุงไม่แตก ในกรณีที่ถุงแตกให้เช่นเดียวกับ gastroschisIs ด้วย Ringeractate Solution หรือ NSS, 20 ml/Kg
ประคองถุง omphalocele ที่มีขนาดใหญ่ ให้นอนตะแคงหรือใช้ผ้าม้วนวางไว้ข้างลำตัวด้านใดด้านหนึ่งหรือทั้งสองข้างซึ่งจะช่วยให้ถุง omphalocele ไม่ตึงหายใจได้ดีขึ้นหักพับของเส้นเลือด inferior vena cava
ขณะส่งต่อ ให้ความอบอุ่นโดยห่อตัวใช้กระเป๋าน้ำร้อนถุงครอบพลาสติกใส ประเมินระบบการหายใจอาจต้องใส่ห่อช่วยหายใจ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อภาวะขาดสารน้ำเเละสารอาหาร เนื่องจากความผิดปกติของผนังหน้าท้อง
มีโอกาสเกิดภาวะอุณหภูมิกายต่ำ (hypothermia)
เสี่ยงต่อการติดเชื้อและขาดเลือดมาเลี้ยงเนื่องจากมี
ลำไส้ยื่นออกมานอกช่องท้อง
ภาวะแทรกซ้อน
ลำไส้ทำงานช้า ดูดซึมสารอาหารผิดปกติ
เกิดภาวะกรดไหลย้อน gastroesophageal reflux
ลำไส้อุดตัน ลำไส้ทะลุ
แผลติดเชื้อแผ่น silastic แยกจาก rectus fascia ก่อนกำหนด
renal vein thrombosis
ขาบวม
การรักษา
รักษาเเบบไม่ผ่าตัด
รักษาโดยการทายาที่ผนัง omphalocele ทำให้หนาตัวขึ้นไม่แตกง่ายและเกิดการงอกของผิวหนังประมาณ 3 เดือนจึงจะสมบูรณ์โดยทายาวันละ 2 ครั้ง ได้เเก่ 0.25% Mercurochorme, หรือ 0.5%Silver nitrate solution, Tincture Merthiolate, Tripledye หรืออาจใช้ pividone iodine แทน
รักษา omphalocele ที่มีเส้นผ่าศูนย์กลาง >10 ช.ม. การผ่าตัดจะเพิ่มความดันในช่องท้องห้มีปัญหาการ หายใจและการไหลเวียนโลหิต
รักษาเเบบผ่าตัด
Primary fascial closure
เป็นการผ่าตัดได้ผลดีที่สุดทำให้ลำไส้ที่โผล่ออกมานอกช่องท้องกลับเข้าไปอยู่ด้านในช่องท้องแล้วเย็บปิดผนังช่องท้องที่ป็นรูแหว่งเข้าหากัน ข้อเสีย ผนังหน้าท้องจะตึงมากเกินไป ทำให้ลำไส้กลับเข้าไปดันกะบังลมทำให้มีอาการหายใจลำบากตามมาได้
Artificial sac coverage
โดยใช้ถุง silastic sheath บีบถุงเพื่อให้ลำไส้กลับลงไปครั้งละ
1-3 เซนติเมตร ใช้เวลา 7-10 วัน แล้วจึงเย็บปีดหน้าท้องแบบวิธีแรก ข้อดีคือลดการเกิดความดันในช่องท้องและไม่เข้าไปดันกระบังลมทำ
ให้ทารกหายใจไม่ลำบาก แต่มีข้อเสีย คือ ถ้าไม่สามารถเย็บปีดผนัง หน้าท้องได้ภายใน10 วัน อาจมีปัญหาเรื่องการติดเชื้อบริเวณขอบของช่องโหว่และอาจเกิดenterocutaneous fistula ได้
Skin flap closure
การตัดเลาะผิวผนังทั้งสองข้างของผนังหน้าท้องออกจากผนังกล้ามเนื้อหน้าท้อง แล้วเย็บปิดขอบผิวหนังทั้ง 2 ข้างเข้าหากันซึ่งจะทำให้เกิดส้เลื่อนไปในช่องท้องส่วนอื่นมากกว่าที่จะเกิดกับช่องเปิดตามธรรมชาติ (ventral hernia) และทำการผ่าตัดแก้ไขอีกครั้ง ข้อดีของวินี้คือไม่เกิดปัญหาการกดหลอดเลือดดำใหญ่ หรือดันกระบังลม ข้อเสีย คือ กาผ่าตัดแก้ไขครั้งที่สองจะทำได้ยากเนื่องจากอาจเกิดพังผืดบริเวณหนังหน้าท้องและอวัยวะ ภายในช่องท้องจากการผ่าตัดครั้งแรก วิธีนี้จึงไม่เป็นที่นิยมยกเว้นไม่สามารถปิดหน้าท้องด้วยวิธีอื่นได้
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
-NPO ใส่ oral gastric tube ป้องกันการสำลักน้ำย่อยและท้องอึดซึ่งเสี่ยงต่อการแตกของผนังและรบกวนการหายใจ
-ก่อนผ่าตัด ควรให้ prophylactic antibiotics ได้เเก่ Ampicillin 100 mg/kg/day เเละ Gentamycin 5mg/kg/day
-ป้องกันการสูญเสียความร้อนของร่างกายRadiant warmer/ Incubator
-ทำความสะอาดและชุบลำไส้ด้วย NSS อุ่นห่อด้วยผ้าแห้ง
-ติดตามภาวะขาดน้ำ โดยใส่สายสวนปัสสาวะเพื่อบันทึกปริมาณปัสสาวะ รายงนแพทย์ถ้าปัสสาวะ < 1 ml/kg/hr, และค่าความถ่วงจำเพาะของปัสสาวะ (urine sp.gr. > 1.015
ตรวจวัด V/S, BP
การพยาบาลระยะหลังผ่าตัด
-ประสิทธิภาพการหายใจลดลงสัมพันธ์กับความดันในช่องท้องสูงขึ้นจากการนำอวัยวะกลับเข้าช่องท้อง
-ความเจ็บปวดหลังผ่าตัด
-อาจเกิดการเปลี่ยนแปลงของระบบไหลเวียนเลือดจากหลอดเลือดดำใหญ่ถูกอวัยวะเบียดในช่องท้อง (abdominal compartment syndrome)
-ขาดสารน้ำและอาหารจากการที่ต้อง NPO นานและลำไส้ยังไม่สามารถทำงานได้ปกติ
-มีโอกาสติดเชื้อแผลผ่าตัดและเกิดแผลแยก
-ประสิทธิภาพการหายใจลดลงสัมพันธ์กับความดันในช่องท้องสูงขึ้น
-ตั้งถุง 90 องศา เพื่อลดการกดทับเส้นเลือด
-ประเมินการเพิ่มแรงดันในช่องท้อง
-จากสีผิวและการไหลเวียนเลือดที่อวัยวะส่วนล่าง
-ปริมาณปัสสาวะทุก 1 ชั่วโมง
-อัตราการหายใจ
O2 sat > 95 %
-อาการบวม
ความหมาย
เป็นความพิการแต่กำเนิดของผนังหน้าท้องบริเวณสะดือหรือ umbilical ring ที่มีอวัยวะโผล่ยื่นจากช่องท้องและมีถุงบางๆ ห่อหุ้ม ผนังของถุงนี้ประกอบด้วย peritoneal lining บุอยู่ด้านในและ amnion บุด้านนอก โดยมี Wharton’s Jelly แทรกอยู่ตรงกลาง
พยาธิสภาพ
สาเหตุการเกิดผนังหน้าท้องมีช่องโหว่(gastroschisis) นั้นยังไม่แน่ชัด เกิดจากหลอด
เลือดดำที่สะดือ (umbilical vein) 2 เส้น คือ ซ้ายและขวาของทารกในระยะตั้งครรภ์
มีการเจริญเติบโตจนหลอดเลือดดำด้านขวาสลายไป ถ้าเส้นเลือดบริเวณข้างเคียง
ทำให้ผนังหน้าท้องด้านขวาของสายสะดือขาดเลือดไปเลี้ยงทำให้ผนังหน้าท้องเกิดเป็นช่องโหว่
อาจเกิดจากโครโมโซม พฤติกรรมเสี่ยงของมารดา และสิ่งแวดล้อม
อาการและอาการแสดงของโรค
เด็กจะตัวเล็กและคลอดก่อนกำหนด
หลังคลอดพบหนังท้องซึ่งมักจะอยู่ขวาต่อสายสะดือเป็นช่องโหว่ มีอวัยวะภายในออกมา ซึ่งมักจะเป็นกระเพาะอาหาร ลำไส้เล็ก ลำไส้ใหญ่ ซึ่งบวม เเดง อักเสบ เเละเกาะ
อุณหภูมิกายต่ำของเด็กต่ำและมีอาการตัวเย็น จากน้ำระเหยจากผิวของลำไส้ ทำให้สูญเสียน้ำ