Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พรบ.การเลือกตั้งสถ/ผถ 2562, หมวด 4 ผู้มีสิทธิเลือกตั้งและบัญชีรายชื่อผู้มี…
พรบ.การเลือกตั้งสถ/ผถ 2562
หมวด 1 บททั่วไป
ผู้มีสิทธิเลือกต้้งสามารถลงคะแนนเลือกตั้งผู้สมัครได้ไม่เกินจำนวนสถ.ผถ.พึงมีในเขต
การเลือกตั้ง - ใช้วิธีออกเสียงโดยตรงและลับ
ให้จัดการเลือกตั้งสถ/ผถ
ครบวาระ ภายใน 45 วัน
เหตุอื่น ภายใน 60 วัน
เว้นกรณีวาระเหลือไม่ถึง 180 ไม่จัดก็ได้
กกต อาจย่อขยายระยะเวลาจัดการเลือกตั้ง(พฤติการณ์พิเศษ)
ประการให้มีการเลือกตั้ง
ผอ กกต อปทโดยความเห็นชอบ ผอ กกต จว
กำหนดเรื่องดังนี้
(1) วันเลือกตั้ง
(2) วันรับสมัคร
เริ่มรับสมัครไม่เกิน 10 วัน นับแต่วันประกาศฯ และกำหนดวันรับสมัครไม่น้อยกว่า 5 วัน
(3) สถานที่รับสมัคร
(4) จำนวน สถและผถ ในเขตเลือกตั้ง
(5) จำนวนเขต
(6) หลักฐานการรับสมัคร
กกต ประกาศผลการเลือกตั้ง
ตรวจสอบ(สุจริตเที่ยงธรรม) ประกาศผลภายใน 30 วันนับแต่วันเลือกตั้ง
(ไม่สุจริตเที่ยงธรรม) กกต สืบสวน/ไต่สวน /เลือกตั้งใหม่ / อื่นๆ และประกาศผลโดยเร็วแต่ต้องไม่ช้ากว่า 60 วันนับแต่วันเลือกตั้ง
กรณีเลือกตั้ง สถ และมีได้สถ ได้รับเลือกเกินกึ่งหนึ่งแต่ไม่น้อยกว่า 5 คน สามารถเรียกประชุมและปฏิบัติหน้าที่ได้
ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง ตามกม ทะเบียนราษฎรมีหน้าที่จัดทำบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้งของแต่ละหน่วย
[ค่าใช้จ่าย]
อปท รับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการเลือกตั้งทั้งหมด
ยกเว้น ค่าใช้จ่าย กกต และผอ กกต จว
รายได้ไม่พอ ให้ ครม จัดสรรเงินอุดหนุน
หมวด 2 เขตเลือกตั้ง หน่วยเลือกตั้งและที่เลือกตั้ง
เขตเลือกตั้ง สถ
กทม. ถือเขต
จำนวนราษฎรตามหลักฐานที่ประกาศในปีสุดท้ายก่อนปีที่มีการเลือกตั้งเกิน 150,000 คน
อบจ ถือเขตอำเภอ
อำเภอใดมีสมาชิกได้เกินกว่า 1 คนให้แบ่งเขตอำเภอเป็นเขตเลือกตั้งเท่ากับจำนวน สถ ที่จะพึ่งมีในอำเภอนั้น
เทศบาล สถ ต้องเท่ากันทุดเขต
ทต-2เขต
ทม-3เขต
ทน-4เขต
พัทยา-4เขต
อบต ถือเขตหมู่บ้าน
การแบ่งเขตเลือกตั้ง
มีจำนวนราษฎรในแต่ละเขตใกล้เคียงกัน
พื้นที่แต่ละเขตต้องติดต่อกัน
เว้นแต่ตามสภาพพื้นที่ อปท ไม่อาจแบ่งเขตเลือกตั้งติดต่อกันได้จะไม่กำหนดเขตติดต่อกันก็ได้
ใช้แนว ถนน ซอย แยก คลอง แม่นย้ำเป็นแนวเขต
ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง
ประกาศจำนวนราษฎรทั่วประเทศ
แจ้งรายละเอียดเป็นรายจังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน อปท
แจ้ง กกต ทราบภายใน 20 วันนับแต่วันที่ประกาศจำนวนราษฎรทั่วประเทศ
เปลี่ยนแปลงเขต
ปลัด มท
แจ้ง กกต ทราบภายใน 7 วันนับแต่วันที่มีการเปลี่ยนแปลงหมวด
หน่วยเลือกตั้ง
ผอ กกต ท้องถิ่น
กำหนดหน่วยและที่เลือกตั้ง
ก่อนวันเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 25 วัน
ทำประกาศติดไว้ ณ อปท ฯลฯ +แผนที่
กรณีเปลี่ยนแปลงเขตของหน่วย/ที่เลือกตั้ง ทำได้โดยประกาศก่อนวันเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 10 วัน
กรณีเหตุสุดวิสัย ประกาศน้อยกว่า 10 วันก็ได้
หลักเกณฑ์กำหนดหน่วยคำนึงถึงความสะดวกเดินทาง
(1) ใช้เขตหมู่บ้านเป็นเขตของหน่วย กรณีหมู่บ้านใดมีผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนน้อยจะรวมหมู่บ้านตั้งแต่ 2 หมู่ขึ้นไปเป็นหน่วยเดียวกันก็ได้ สำหรับเขตเทศบาล กทม พัทยา อาจใช้แนวถนน ตรอก ซอย แยก คลอง แม่น้ำเป็นแนวเขต
(2) ให้ถือเกณฑ์จำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งหน่วยละ 1,000 คน เป็นประมาณ
ที่เลือกตั้ง
(1) เป็นสถานที่ที่ประชาชนเข้าออกสะดวกและมีป้ายเครื่องหมายแสดงบริเวณ
(2) เพื่อประโยชน์อำนวยความสะดวกผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ผอ กกตท้องถิ่น จะกำหนดที่เลือกตั้งนอกเขตของหน่วยก็ได้
หมวด 4 ผู้มีสิทธิเลือกตั้งและบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
คุณสมบัติ
สัญชาติไทย/แปลงสัญชาติมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี
อายุไม่ต่ำกว่า 18 ปี ในวันเลือก
มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตเลือกตั้งติดต่อไม่น้อยกว่า 1 ปี นับถึงวันเลือกตั้ง
อื่นตาม กม อปทกำหนด
กรณีย้ายทะเบียนบ้านไปอีกแห่งหนึ่งในเขตอปท เดียวกันให้มีสิทธิลงคะแนนในเขตที่คนมีชื่อในทะัเบียนบ้านครคั้งสุดท้ายเป็นเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่า 1 ปี
ลักษณะต้องห้ามใช้สิทธิเลือกตั้ง
ภิกษุ สามเณร พรต บวช
อยู่ระหว่างถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง สุดหรือไม่ก็โดน
ต้องคุมขังหมายของศาล
วิกลจริต จิตฟั่นเฟือน
อื่นตาม กม อปท
การแจ้งเหตุไม่อาจไม่ใช้สิทธิ
ให้แจ้งต่อบุคคลซึ่ง กกต กำหนด
ภายใน 7 วันก่อนวันเลือกตั้ง/ภายใน 7 วันนับแต่วันเลือกตั้ง
ทำเป็นหนังสือ/มอบหมาย/ไปรษณีย์ลงทะเบียน/วิธีทางอิเล็กทรอนิกส์
บุคคลที่ กกต กำหนดพิจารณาเหตุ หากไม่สมควร แจ้งผู้มีสิทธิทราบภายใน 3 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งเหตุ
มีสิทธิอุทธรณ์ต่อ ผอ กกต จว ภายใน 30 วันนับแต่วันเลือกตั้ง
ครบ 60 วันนับแต่วันเลือกตั้ง ประกาศรายชื่อผู้ไม่ไปใช้สิทธิและมิได้แจ้งเหตุ เหตุอันไม่สมควร
เกิคความผิดพลาดข้อเท็จจริง ยื่นคำร้องต่อ ผอ กกต จว หรือคนที่กกต กำหนด แก้ไข
กรณีเสียสิทธิไม่ไปเลือกตั้ง
สิทธิสมัครรับเลือกตั้ง
กำนันผู้ใหญ่บ้าน
การเข้าชื่อถอดถอน (เฉพาะอปท)
ดำรงตำแหน่ง ขรก การเมือง
ฝ่ายนิติบัญญัติ อปท
กำหนดระยะ 2 ปี นับแต่วันเลือกตั้งครั้งที่ผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่ไปใช้สิทธิ
บัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
เมื่อประกาศให้มีการเลือกตั้ง ผอ กกต ท้องถิ่น ตรวจสอบบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้งแต่ละหน่วย
ติดประกาศ -ไม่มีเลข ปชช 13 หลัก
จนท ตรวจสอบ - มีเลข 13 หลัก
ประกาศบัญชีรายชื่อในที่เปิดเผย
ก่อนวันเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 25 วัน
แจ้งเจ้าบ้านทราบก่อนวันเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 15 วัน
บัญชีรายชื่อผิดพลาด/ย้ายบุคคลเพื่อประโยชน์การเลือกตั้ง
ผอ กกต ท้องถิ่น รายงานต่อ กกต ท้องถิ่น
แก้ไข/ถอนชื่อบุคคลออกจากบัญชี
ถอนชื่อ/ชื่อหาย
ผู้มีสิทธิ/เจ้าบ้าน ยื่นคำร้องต่อ ผอ กกต ท้องถิ่นก่อนวันเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 10 วัน
ผอ กกต ท้องถิ่น เห็นว่าเป็นผู้มีสิทธิเลือกตั้ง รายงาน กกต ท้องถิ่นทราบและแจ้งให้ผู้ร้องและเจ้าบ้านภายใน 3 วันนับแต่วันที่ได้รับคำร้อง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้งเห็นว่าผู้มีชื่อในบัญชีไม่มีสิทธิเลือกตั้ง
ยื่นคำร้องต่อ ผอ กกต ท้องถิ่น ก่อนวันเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 10 วัน เพื่อถอนชื่อออก
ไม่มีสิทธิเลือกตั้ง ผอ กกต ท้องถิ่น โดยความเห็นชอบ กกต ท้องถิ่น มีคำสั่งถอนชื่อ
เห็นแย้ง ให้รายงาน กกต ท้องถิ่นและแจ้งผู้ร้องทราบภายใน 3 วันนับแต่วันได้รับคำร้อง
ให้ ผอ กกต ท้องถิ่น แจ้งผู้อำนวยการทะเบียนกลางเพื่อแก้ไขบัญชีรายชื่อให้ถูกต้อง
การย้ายชื่อเข้าทะเบียนบ้านเพื่อประโยชน์โดยมิชอบ
ย้ายบุคคลตั้งแต่ 5 คนขึ้นไป คนละนามสกุลกับเจ้าบ้าน เพื่อให้มีสิทธิเลือกตั้งภายใน 2 ปี นับแต่ย้ายเข้า
ไม่ได้อาศัยอยู่จริง
เจ้าบ้านไม่ได้ยินยอม
ยกเว้น สถานศึกษา หน่วยงานรัฐ
หมวด 3 การเลือกตั้ง
ผอ กกต ท้องถิ่น
หน้าที่และอำนาจ
(6) ดำเนินการอื่นอันจำเป็นเกี่ยวกับการเลือกตั้ง
(5) ดำเนินการเกี่ยวกับการลงคะแนน นับ และประกาศผลการนับ
(4) ตรวจสอบ เพิ่มชื่อ ถอนชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้ง**
(3) แต่งตั้งและอบรมเจ้าพนักงานผู้ดำเนินการเลือกตั้ง**
(2) กำหนดหน่วยและที่เลือกตั้ง**
(1) รับสมัครเลือกตั้ง
(2)-(4) กกตท้องถิ่นต้องเห็นชอบ
หัวหน้าพนักงานส่วนท้องถิ่น
กรณีมีพฤติการณ์/มีส่วนได้เสียกับผู้รับสมัคร
กกต อาจแต่งตั้ง ปลัดจว/ นายอำเภอ / ปลัดอำเภอ แทน
คณะกรรมการการเลือกตั้งประจำองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กกต แต่งตั้งจาก
ข้าราชการและจนทอื่นของรัฐ
หรือผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ไม่เกิน 2 คน
ห้ามมิให้แต่งตั้งคนใน อปท เว้นแต่ทำหน้าที่ผู้ช่วยเลขา หรือเลขานุการ
ต้องปฏิบัติหน้าที่ในจว หรืออำเภอที่อปท ตั้งอยู่
ผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่มีภูมิลำเนาอยู่ในเขตจว อำเภอนั้นๆ
มอบหมาย ผอ กกต จว ลงนามคำสั่งแทนได้
อำนาจ
เสนอแนะและให้ความเห็น กำหนดหน่วย ที่เลือกตั้งและแต่งตั้ง จพงผู้เดำเนินการเลือกตั้ง
ตรวจสอบและให้ความเห็น บัญชีรายชื่อ เพิ่มชื่อ ถอนชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กำกับดูแลและอำนวยการ เลือก ลงคะแนน นับ และประกาศผลนับ
กำหนดสถานที่รวบคะแนน และรวบรวมรายงานผลต่อ ผอ กกต จว
อื่นๆ ที่ กกต มอบหมาย
พนักงานผู้ดำเนินการเลือกตั้ง
ผอ กกต ท้องถิ่น โดยกกตท้องถิ่นเห็นชอบ แต่งตั้ง
(1) คณะกรรมประจำหน่วยเหลือตั้งไม่น้อยกว่า 5 คน
หน้าที่เกี่ยวกับการออกเสียงลงคะแนนในที่เลือกตั้งและนับคะแนนของหน่วย
(2) เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยอย่างน้อย 2 คน
รักษาความปลอดภัยและสนับสนุนการปฏิบัติหน้าที่
ก่อนวันเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 20 วัน
บัตรเลือกตั้ง
กกต เป็นผู้รับผิดชอบการจัดพิมพ์ วิธีส่ง โดย อปท รับผิดชอบค่าใช้จ่าย
หมวด 5 ผู้สมัครรับเลือกตั้ง
คุณสมบัติ
(1) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด
(2) สมัครสมาชิกอายุไม่ต่ำกว่า 25 ปีนับถึงวันเลือกตั้ง/ผู้บริหาร ไม่ต่ำกว่า 35 ปีนับถึงวันเลือกตั้ง
(3) มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตที่สมัครติดต่อกันไม่น้อยกว่า 1 ปี นับถึงวันสมัครรับเลือกตั้ง
(4) คุณสมบัติอื่นตามที่กม อปท กำหนด
ลักษณะต้องห้าม
ติดยา
ล้มละลาย/เคยล้มทุจริต
เจ้าของ ถือหุ้นสื่อพิมพ์
ต้องห้ามใช้สิทธิเลือก พระถอนจิต
อยู่ระหว่างถูกระงับสิทธิสมัครชั่วคราว/เพิกถอนสิทธิ
ต้องคำพิพากษาให้จำคุก+ถูกคุมขังอยู่
เคยรับโทษจำคุกพ้นโทษมายังไม่ถึง 5 ปีนับถึงวันเลือก
เคยถูกสั่งพ้นจากราชการทุจริตต่อหน้าที่
เคยต้องคำพิพากษาให้ทรัพย์ตกเป็นของแผ่นดินเพราะร่ำรวยผิดปกติ
เคยต้องคำพิพากษาถึงที่สุดกระทำผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ
เคยต้องคำพิพากษาถึงที่สุดทุจริตการเลือกตั้ง
เป็น ขรก มีตำแหน่งเงินเดือนประจำ
เป็น สส สว สถ ผถ
เป็นพนักงาน ลูกจ้างของหน่วยงานราชการ
เป็นตุลาการศาล รธน องค์กรอิสระ
อยู่ระหว่างต้องห้ามมิให้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
เคยพ้นจากตำแหน่งเพราะศาลฎีกา/ศาลฎีกาผู้ดำรงตำแหน่งการเมือง พิพากษาร่ำรวยผิปกติ ทุจริต ขัดกฎหมาย จริยธรรมร้ายแรง
ต้องคำพิพากษาตาม พรบ นี้ พ้นโทษยังไม่ถึง 5 ปีนับถึงวันเลือกตั้ง
เคยถูกถอดถอนจากตำแหน่งการเมืองยังไม่ถึง 5 ปีนับถึงวันเลือกตั้ง
อยู่ระหว่างถูกจำกัดสิทธิสมัครเป็น สถ ผถ
เคยถูกเพิกถอนสิืธิเลือกตั้งและยังไม่พ้น 5 ปีนับแต่วันที่พ้นจากการถูกเพิกถอนจนถึงวันเลือกตั้ง
เป็นผู้สมัครซ้ำซ้อน
เคยพ้นจากตำแหน่งเพราะมีส่วนได้เสียในสัญญา และยังไม่พ้น 5 ปีนับแต่วันที่พ้นจากตำแหน่งจนถึงวันเลือกตั้ง
เคยถูกสั่งพ้นจากตำแหน่งเพราะจงใจไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย และยังไม่พ้น5ปี
เคยพ้นจากตำแหน่งเพราะทอดทิ้ง ละเลยไม่ปฏิบัติตามกฎหมายและยังไม่พ้น 5 ปี
ลักษณะอื่น อปท กำหนด
การรับสมัคร
(1) ผู้สมัครยื่นใบสมัครต่อ ผอ กกต ท้องถิ่น
(2) ยื่นหลักฐานแสดงการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเป็นเวลาติดต่อกัน 3 ปีนับถึงปีที่สมัครรับเลือกตั้งของผู้สมัคร
(3) รายได้ตกเป็นของ อปท
(4) ค่าทำเนียมการสมัคร อปท ไม่ต้องคืน และจะถอนการสมัครไม่ได้
(5) เห็นว่าหลักฐานไม่ถูกต้อองให้คืนเอกสารหลักฐาน ค่าธรรมเนียมทันที
(6) ครบถ้วน ออกหลักฐานการรับสมัครให้ผู้สมัครเรียงตามลำดับการยื่นสมัครและทำสำเนาคู่ฉบับเป็นหลักฐาน
ลำดับเลขประจำตัวเรียงตามลำดับก่อนหลังในการมายื่นใบสมัครถ้ามาพร้อมกันหลายคนและตกลงไม่ได้ให้ จับสลากระหว่างผู้สมัครด้วยกัน
(7) ประกาศรายชื่อผู้สมัครภายใน 7 วันนับแต่วันปิดรับสมัครไว้โดยเปิดเผย
ไม่มีชื่อมีสิทธิยื่นคำร้องต่อ กกต ภายใน 3 วันนับแต่วันที่ประกาศรายชื่อผู้สมัคร
(8) ประกาศราชื่อให้มี ชื่อตัว สกุล รูปถ่ายและหมายเลขประจำตัวที่ใช้ลงคะแนน
(9) ประกาศรายชื่อแล้ว พบว่าผู้สมัครไม่มีสิทธิสมัคร ให้ กกต วินิจฉัยโดยเร็ว
ถ้าความปรากฏก่อนวันเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 20 วัน ให้ กกต วินิจฉัยให้เสร็จก่อนวันเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 10 วัน
ให้สั่งถอนชื่อผู้นั้นออกจากบัญชีรายชื่อผู้สมัคร
ให้อุทธรณ์ต่อศาลอุทธรณ์/อุทธรณ์ภาค เป็นที่สุด ไม่เป็นเหตุชะลอการเลือกตั้ง และพิจารณาแล้วเสร็จก่อนวันเลือกตั้ง
ส่งตัวแทนสังเกตุการณ์
ต่อ ผอ กกต ท้องถิ่น ก่อนวันเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 7 วัน โดยแต่งตั้งได้แห่งละ 1 คน
หมวด 6 ค่าใช้จ่ายในการเลือกตั้งและวิธีการหาเสียง
ผู้มีอำนาจประกาศค่าใช้จ่าย - ผอ กกต จว