Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระเบียบขั้นตอนและพิธีการเข้าออกประเทศ - Coggle Diagram
ระเบียบขั้นตอนและพิธีการเข้าออกประเทศ
กองตรวจคนเข้าเมือง ควบคุมการดูแลการเข้ามาและออกไปนอกราชอาณาจักร
ลักษณะบุลคลต้องห้ามไม่ให้เข้ามาในประเทศไทย พระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ. 2522 มาตรา 12
ชาวต่างประเทศที่ไม่มีหนังสือเดินทางที่รัฐบาลไทยรับรอง
ชาวต่างประเทศที่ไม่มีปัจจัยในการยังชีพ
ชาวต่างประเทศที่เข้ามาประกอบอาชีพกรรมกร รับจ้าง
ชาวต่างประเทศที่เป็นคนวิกลจริต
ชาวต่างประเทศที่ไม่ได้ปลูกฝีป้องกันโรคไข้ทรพิษ
ชาวต่างประเทศที่เคยได้รับโทษจำคุก
ชาวต่างประเทศที่เป็นภัยต่อสังคม
ชาวต่างประเทศที่เข้ามาค้าประเวณี
ชาวต่างประเทศที่ไม่มีเงินติดตัว
คนที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ไม่อนุญาตให้เข้าประเทศ
ชาวต่างประเทศที่ถูกรัฐบาลไทยเนรเทศ
ระเบียบในการเข้ามาในประเทศและออกไปนอกประเทศของชาวต่างประเทศ
หนังสือเดินทาง เอกสารที่รัฐบาลออกให้เพื่อเป็นหลักฐานในการเดินทางออกนอกประเทศ แบ่งออกเป็น 5 ชนิด
หนังสือเดินทางทูต มีอายุไม่เกิน 5 ปี
หนังสือเดินทางราชการ รัฐบาลออกให้แก่ข้าราชการ
หนังสือเดินทางธรรมดา
หนังสือเดินทางหมู่ รัฐบาลออกให้แก่กลุ่มคณะที่้เดินทางไปต่างประเทศพร้อมกัน
หนังสือเดินทางองค์การสหประชาชาติ
การตรวจลงตรา ตรวจสอบว่าผู้ที่จะเดินทางมีคุณสมบัติสมควรอนุญาตให้เข้าไปในประเทศที่ต้องการ มี 8 ประเภท
ประเภททูต
ประเภทราชการ
ประเภทคนอยู่ชั่วคราว
ประเภทนักท่องเที่ยว
ประเภทคนเดินทางผ่านราชอาณาจักร
ประเภทคนเข้าเมืองนอกกำหนดจำนวนคนต่างด้าว
ประเภทอัธยาศัยไมตรี
ประเภทคนเข้ามามีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร
วิธีการขอรับการตรวจลงตรา
การตรวจลงตราประเภททูต การตรวจลงตราเข้ามาในประเทศไทยเป็นการชั่วคราว เพื่อวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง
เพื่อการปฏิบัติหน้าที่ทางการทูตหรือกงสุล
เพื่อการปฏิบัติหน้าที่ชั่วคราว
การตรวจลงตราประเภทราชการ เป็นการตรวจลงตราชั่วคราว เพื่อปฏิบัติหน้าที่ราชการในประเทศไทย
การตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว ให้เฉพาะผู้ที่เข้ามาเป็นการชั่วคราว เช่น ธุรกิจการลงทุน การศึกษาดูงาน
การตรวจลงตราประเภทนักท่องเที่ยว ให้เฉพาะผู้ขอรับการตรวจลงตราที่เข้ามาชั่วคราวเพื่อการท่องเที่ยว
การตรวจลงตราประเภทคนเดินทางผ่านราชอาณาจักร ให้เฉพาะที่เข้ามาเป็นการชั่วคราว เช่น การเล่นกีฬา
การตรวจลงตราประเภทคนเข้าเมืองมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร
การตรวจลงตราประเภทคนเข้าเมืองนอกกำหนดจำนวนคนต่างด้าว
การตรวจลงตราประเภทอัธยาศัยไมตรี
การขอรับการตรวจลงตราของผู้ถือหนังสือเดินทางทูต
การขอรับการตรวจลงตราของผู้ถือหุ้นหนังสือเดินทางหรือเอกสารใช้แทนหนังสือเดินทาง
กรณีเข้ามาในฐานะพระราชอาคันตุกะ ทั้งนี้ให้ผู้ถือหนังสือเดินทางยื่นขอรับการตรวงลงตราต่อสถานทูต
ประเภทผ่าน 15 หรือผ่อนผัน 15
ผู้เดินทางบางประเทศที่อาจได้รับการยกเว้นไม่ต้องรับการตรวจลงตราของประเทศไทย หากทำข้อตกลงไว้กับรัฐบาลว่าให้อยู่ในประเทศไทยได้เป็นเวลา 15 วัน
การขอตรวจลงตราเมื่อมาถึงท่าอากาศยาน คนต่างด้าวจะขอรับการตรวจลงตรา และสามารถเข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรได้ 30 วัน แต่ต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
เข้ามาเพื่อการท่องเที่ยวไม่เกิน 30 วัน
มีหนังสือเดินทางที่ถูกต้องสมบูรณ์
มีสัญชาติของประเทศที่รัฐบาลกำหนด
มีตั๋วซึ่งชำระค่าโดยสารครบถ้วนแล้วสำหรับใช้เดินทาง
ไม่เป็นบุคคลต้องห้าม
ประเทศที่คนต่างชาติสามารถขอรับการตรวงลงตรา เพื่อเข้ามาท่องเที่ยวในราชอาณาจักรไม่เกิน 15 วัน นับแต่วันที่เดินทางเข้ามา ภายใต้เงื่อนไข
มีสัญชาติของประเทศตามที่กำหนดในประกาศกระทรวงมหาดไทย
มีตั๋วซึ่งชำระค่าโดยสารครบถ้วน และสามารถใช้เดินทางออกได้ภายในกำหนดเวลาที่ได้รับอนุญาติ
ต้องขอรับการตรวจลงตรา โดยต้องยื่นคำร้องพร้อมรูปถ่ายและเสียค่าธรรมเนียมการตรวจลงตราประเภทนักท่องเที่ยว
การยกเว้นการตรวจลงตรา สำหรับคนต่างด้าวบางประเภทเป็นกรณีพิเศษ ราลละเอียดดังนี้
การยกเว้นสำหรับชาวต่างประเทศบางประเภทเป็นกรณีพิเศษ
ให้ยกเว้นการตรวจลงตรา
ผู้ถือหนังสือเดินทางซึ่งเดินทางมาจากประเทศที่ไม่มีสถนทูต
การยกเว้นการตรวจลงตราตามนโยบายของรัฐบาล เพื่อการส่งเสริมการท่องเที่ยว
ต้องไม่เป็นคนสัญชาติคอมมิวนิสต์
ต้องไม่มีลักษณะเป็นบุคคลต้องห้าม
ต้องมีหนังสือเดินทาง
ผู้ถือเอกสารประเภท ซี.ไอ ไม่ได้รับการผ่อนผัน
ต้องดินทางเข้ามาเฉพาะเครื่องบิน
หลักเกณฑ์และวิธีการยื่นคำร้องขออยู่ต่อในประเทศไทย
เว้นแต่เป็นกรณีที่เป็นเหตุสุดวิสัย ที่ไม่สามารถเดินทางออกไปนอกราชอาณาจักรได้ เจ้าพนักงานระดับสารวัตรขึ้นไป จะอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรได้ไม่เกิน 30 วัน ตามเกณฑ์ต่อไปนี้
หนังสือเดินทางสูญหาย
ถูกจับกุมดำเนินคดี
เหตุสุดสัยอย่างอื่น
เกิดการเจ็บป่วย เป็นอุปสรรคต่อการเดินทาง
คนต่างด้าวที่ได้รับการตรวจลงตราประเภทนักท่องเที่ยว จะอนุญาตให้อยู่ราชอาณาจักรได้ 50 วัน
คนต่างด้าวที่ได้รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว อนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรได้เป็นเวลา 90 วัน หากประสงค์จะอยู่ต่อ จะอนุญาตให้อยู่ไม่เกิน 1 ปี
เพื่อธุรกิจ เพื่อการศึกษาหรือดูงาน
เพื่อการปฏิบัติหน้าที่สื่อมวลชน เพื่อการให้ความอุปการะ
เพื่อการเผลแผ่ศาสนา เพื่อการปฏิบัติงานด้วยฝีมือหรือผู้เชี่ยวชาญ
เพื่อการปฏิบัติหน้าที่ให้แก่รัฐวิสาหกิจ