Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
AntiMicrobial Agents ยาฆ่าเชื้อ - Coggle Diagram
AntiMicrobial Agents
ยาฆ่าเชื้อ
Antibiotics Affecting the Bacterial Cell Wall
Beta-LACTAM ANTIBIOTICS
มีโครงสร้างหลักเป็นβ-lactam ring
สามารถถูกทำลายด้วยเอนไซม์β-lactamase enzymesของเชื้อบางชนิดเช่น Staphylococcus, Haemophilus influenzae
เป็น bactericidal
จับกับpenicillin-binding protein (PBP)ออกฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ transpeptidaseทำให้เซลล์แตก(เกี่ยวข้องกับขั้นตอนสุดท้ายในการสังเคราะห์peptidoglycan)
Cephalosporins
มีโครงสร้างทางเคมี กลไกการออกฤทธิ์และผลข้างเคียงคล้ายกับpenicillin(ทนต่อβ-lactamasesมากกว่า/ทนกรดดีกว่า/ออกฤทธิ์กว้างกว่า)
VANCOMYCIN
ใช้กับเชื้อดื้อยา เช่น Staphylococcus pyogenesisที่ดื้อpenicillinsรวมถึงเชื้อmethicillin-resistant Staphylococcus aureus
ใช้รักษาpseudomembranous colitisที่เกิดจากเชื้อClostridium
difficile
อาการไม่พึงประสงค์ แพ้ยา พิษต่อหู พิษต่อไต • ‘red man’ syndrome
Protein Synthesis Inhibitors
ยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีนของแบคทีเรีย โดยจับbacteria ribosome subunit ซึ่งเป็นบริเวณที่มีการสร้างโปรตีนของแบคทีเรีย
bacteria ribosome
30S หน่วยเล็ก
Aminoglycosides
มีฤทธิ์ต่อแบคทีเรียแกรมลบ
มีฤทธิ์ต่อแบคทีเรียแกรมบวกบางตัว เช่นstaphylococci
ไม่มีฤทธิ์ต่อanaerobes
มีฤทธิ์ต้านเชื้อวัณโรค
อาการไม่พึงประสงค์
พิษต่อไต
พิษต่อหู
ทำให้เกิดอัมพาตของกล้ามเนื้อหายใจ
อาหารชาตามปลายเท้า หรือรอบปาก
ผื่นแพ้ยา
Tetracyclines
คุณสมบัติทางเภสัชวิทยา
Bacteriostatic
Broad-spectrum
ถูกดูดซึมจากทางเดินอาหารได้ดี
การดูดซึมลดลงถ้าให้ร่วมกับนม ยาลดกรด หรือวิตามินที่มีธาตุเหล็ก
อาการไม่พึงประสงค์
ระคาบเคืองกระเพาะอาหาร
รบกวนการสร้างกระดูกและฟัน
พิษต่อตับ
อาหารแพ้ยา
50S หน่วยใหญ่
Macrolides
Bacteriostatic ออกฤทธิ์กว้าง
Erythromycin ไม่ทนกรด
มีการดูดซึมดี กระจายตัวทั่วร่างกาย
เปลี่ยนแปลงที่ตับก่อนขับออก(มีพิษต่อตับ)
ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์cytochrome
p45o มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงยาอื่นน้อยลงจนอาจทำให้เกิดพิษ
Chloramphenicol
คุณสมบัติทางเภสัชวิทยา
Broadspectrum
ถูกดูดซึมได้ดีจากทางเดินอาหาร
กระจายเข้าสู่น้ำไขสันหลังได้
ยาถูกทำลายโดยตับ
อาการไม่พึงประสงค์
กดการสร้างเม็ดเลือด
กดการทำงานของไขกระดูก(Aplastic anemia)
Gray Baby Syndromeในเด็กทารก
การแพ้ยา
Inhibition of DNA or RNA
synthesis
Fluoroquinolones
มีฤทธิ์ยับยั้งการสร้างDNA gyrase (gram-)และtopoisomerase IV (gram+)ซึ่งเป็นเอนไซม์จำเป็นสำหรับDNA replicationของแบคทีเรีย ทำให้เซลล์ตาย
อาการไม่พึงประสงค์
คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย
ปวดศีรษะ มึนงง ชัก
เอ็นอักเสบ
Sulfonamides and Trimethoprim
Sulfamethoxazole, sulfadiazine, sulfisoxazole
Trimethoprim
ออกฤทธิ์โดยยับยั้งการสังเคราะห์ folic acidซึ่งเป็นสารจำเป็นสำหรับเชื้อในการสร้างDNA, RNA,และproteins
เป็นbacteriostaticแต่เมื่อให้ร่วใกันเป็นbactericidal
ยาต้านวัณโรค
Isoniazide
กลไกการออกฤทธิ์ ยับยั้งการสังเคราะห์mycolic acid ซึ่งเป็นส่วนประกอบสำคัญของผนังเซลล์เชื้อmycobacteria
มีพิษต่อระบบประสาทส่วนปลาย ชาปลายมือปลายเท้า
Rifampin
กลไกการออกฤทธิ์ ยับยั้งการสังเคราะห์RNA(ยับยั้งเอนไซม์DNA-dependent RNA polymerase)
ยาทำให้ปัสสาวะ เหงื่อ มีสีแดง ปวดกล้ามเนื้อมีพิษต่อตับ
Ethambutol
กลไกการออกฤทธิ์ ยับยั้งการสังเคราะห์arabinoglycan(ยับยั้งarabinosyl transferase)เป็นbacteriostatic
ปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ กรดยูริกเกิน
Pyrazinamide
กลไกการออกฤทธิ์ ยับยั้งการสังเคราะห์mycolic acid(ยับยั้งfatty acid synthetase 1)
ปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ กรดยูริกเกิน
SYSTEMIC ANTIFUNGAL
DRUGS
Amphotericin B กลไกการออกฤทธิ์ จับกับergosterol ของเชื้อรา ทำให้เกิดรู จากนั้นสารที่จำเป็นต่างๆรั่วออก และตายในที่สุด
Flucytosine (5-FU) กลไกการออกฤทธิ์ จับกับเอนไซม์ permease(ไม่พบในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม)ส่งผลให้ทำลายกรดนิวคลิอิก และยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีนของเชื้อรา
DRUGS FOR
CUTANEOUS MYCOSES
Griseofulvin กลไกการออกฤทธิ์ ยับยั้งการแบ่งตัวของเชื้อรา
Terbinafine กลไกการออกฤทธิ์ ยับยั้งเอนไซม์squalene epoxidase ส่งผลให้ลดการสังเคราะห์ergosterol และทำให้เชื้อราตาย
Antiherpes and
Cytomegalovirus (CMV)
Acyclovir กลไกการออกฤทธิ์ ยับยั้ง DNA polymerase
ส่งผลให้ยับยั้งการสังเคราะห์ DNA ของไวรัส
Antiretro virus
NRTIsกลไกการออกฤทธิ์ competitive inhibition of
HIV-1 reverse transcriptase→ยับยั้งการเปลี่ยนRNA เป็น DNA ของไวรัส
Anti-Hepatitis virus
Interferons กลไกการออกฤทธิ์ ยับยั้ง viral RNA translation
Lamivudine (3TC) กลไกการออกฤทธิ์ reverse transcriptase inhibitors→ยับยั้งการแบ่งตัวของไวรัส