Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
International Law week 12 กฎหมายระหว่างประเทศ สัปดาห์ที่ 12 - Coggle…
International Law week 12 กฎหมายระหว่างประเทศ สัปดาห์ที่ 12
International laws
ไม่บังคับใช้อย่างเคร่งครัด
รัฐมีส่วนร่วมผ่านเวทีพหุภาคี
ไม่ผ่านกระบานการทางนิติบัญญัติ
หลักประกันความยุติธรรมในเวทีโลก BUT ประเด็นสำคัญ
จริยธรรม และ มนุษธรรม
Defintions
เป็นกฎข้อบังคับต่างๆ โดยยึดถือตามขนบธรรมเนียมและจารีต โดยมีการผูกพันกับรัฐต่างๆในความสัมพันธ์ระหว่างกัน Prof. oppenheim
เป็นกฎหมายเกี่ยวกับความประพฤติของรัฐต่างๆที่ต้องปฏิบัติตามระหว่างกัน และกฏหมายที่เป็นข้อบังคับขององค์การระหว่างประเทศ ร่วมถึงความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรเหล่านั้นมีต่อรัฐต่างๆ และเอกชน J.k Starke
ได้แก่ข้อบังคับซึ่งกำหนดสิทธิและหน้าที่ของรัฐ หรือในความเกี่ยวพันกับรัฐอื่นๆ มีพันธกรณีบางอย่างระหว่างหมู่คนซึ่งร่วมกัน จะเป็นโดยรัฐบาลทำการผูกพันกันเอง หรือคนผูกพันระหว่างกันเอง Holzendorf
วิวัฒนาการความเป็นมา
กรีกโบราณ & ความยุติธรรม (เพลโต,อริสโตเติล)
โรมัน เกิดความสัมพันธ์ระหว่างจักรวรรดิโรมันกับอาณาจักรอื่น เกิด รากฐานของระบบกฎหมายของยุโรป
ศ.5 ยุคศักดินา pope & Just War สงครามป้องกันตนเอง การต่อต้าน ศัตรูนอกศาสนา
ศ.13 เริ่มมีบทบาทในประชาคมระหว่างประเทศ
ศ.16 to presen IL ทวีความสัมคัญมาก
1583-1645 Hugo Grotius บิดากฎหมายระหว่างประเทศ
ศ.19 congress of vienna (1815) & กฎเกณฑ์ที่รัฐพึ่งปฏิบัติต่อกันในยามสงครามและยามสันติ > กฏหมายระหว่างประเทศ
แนวคิดหลังสมัย Grotius
Naturalism
เป็นกฎหมายสูงสุดและเป็นรากของ LI ทั้งปวง
เป็นเหตุตามธรรมชาติ มีข้อบังคับไม่จำกัดเวลาและสถานที่
positivist
will โดยได้รับการยินยอมจากรัฐคู่ภาคี ไม่สามารถอ้างถึงหลักคุณธรรมได้
การประนีประนอมทั้ง 2 แนวคิด
by Emmerich de vattel (1714-1769) = กฎหมายของมนุษย์
รัฐเอกราชมีสิทธิใช้เหตุผลตามสมควร
แหล่งที่มา
ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร international custom general praction & acceptance as law หลักอาณาเขตของรัฐไม่สามารถละเมิดได้ จารีตอาณาเขต 3 ไมล์ทะเล
legal principle (กฎหมายทั่วๆไป) ทำภายในประเทศ
ได้รับการยอมรับจากประชาคมโลกว่าผูกพันกับรัฐอื่น
เป็นลายลักษณ์อักษร
international conventions สนธิสัญญาระหว่างประเทศ
่Judicial Decision
ประเภท
private IL
พลเมืองของรัฐ-คนต่างด่าว
คนต่างด้าว-คนต่างด้าว
เรื่องสัญชาติ หนี้สิน การได้กรรมสิทธิ์
public IL
สิทธิและหน้าที่ของรัฐในฐานะนิติบุคคล (สันติ & ขัดแย้ง)
การบังคับใช้
เสรีนิยม รัฐเชื่อฟังและปฏิบัติตาม มีเป้าหมายส่งเสริมความเป็นระเบียบและอยู่ร่วมกันระหว่างรัฐและรัฐอย่างสันติ
สัจจนิยม การที่รัฐยอมรับและปฏิบัติตามไม่ใช้เพราะกติกา แต่รัฐเห็น interest เพราะผลประโยชน์
มาร์นิยม ไม่ยอมรับใน IL เพราะเป็นผลผลิตของทุนนิยม
However
ปกป้องรัฐเล็กจากรัฐใหญ่
วางมาตรการเพื่อความเป็นระเบียบของประชาคมโลก
สนับสนุนและระงับข้อพิพาก
ป้องกันการใช้กำลัง
ความยุติธรรมระหว่างประเทศ
ความยุติธรรมระหว่างชุมชน เกิดความเท่าเทียมกัน และความเป็นธรรมกับรัฐต่างๆ เน้นสิทธิหน้าที่ เพื่อความชอบธรรม
ความยุติธรรมระหว่างปัจเจกบุคคล เน้นสิทธิหน้าที่หลักสิทธิมนุษยชนที่มนุษย์สมควรได้รับ
ปัญหาจริยระหว่างประเทศ
หน้าที่ที่กำหนด ความเชื่อหลักศีลธรรมที่ขัดแย้งกัน
การประยุกต์จริยธรรมต่อเป้าหมาย
หลัก Moral absolution & consequentialism ในการประเมินหลักจริยธรรมของนโยบาลต่างประเทศ