Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการพยาบาลที่เลือกสรร The Roy Adaptation Model, นางสาวอริสา เพ็งแสงทอง…
ทฤษฎีการพยาบาลที่เลือกสรร The Roy Adaptation Model
ความสำคัญของการปรับตัว
ผลลัพธ์ของการปรับตัว คือ พฤติกรรม(Behavior) การแสดงออก หรือ ปฏิกิริยาการตอบสนองภายใน/ภายนอกของบุคคลต่อสถานการณ์ที่เป็นปัญหา ตามความต้องการและ ความบกพร่อง
พฤติกรรมการปรับตัวสำเร็จ (Adaptive response)
จะมีกระบวนการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมอย่างสร้างสรรค์ และบรรลุเป้าหมายของการปรับตัว ได้แก่
การมีชีวิต อยู่รอด การเจริญเติบโต สามารถสืบเผ่าพันธุ์ให้คงอยู่ได้
มีความเชี่ยวชาญมีงานที่สร้างสรรค์
สร้างการเปลี่ยนแปลงของมนุษย์ และ สิ่งแวดล้อมได้ตามต้องการ
แสดงออกอย่างมีศีลธรรมมีความเชื่อ และ ความตระหนักรู้ในทางบวก
พฤติกรรมการปรับตัวที่ไม่มีประสิทธิภาพ ( Ineffective responses)
มีการตอบสนองต่อสถานการณ์ในแบบไม่ส่งเสริม ความสมบูรณ์ของระบบบุคคล ไม่บรรลุเป้าหมายของการปรับตัว หยุดยั้งการเจริญเติบโต
ทำให้สูญเสียเผ่าพันธุ์ ปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมไม่ได้
ระบบเสียสมดุล
เกิดความเจ็บป่วย
มีภาวะคุกคามชีวิต และ เสียชีวิตได้
ประวัติผู้สร้างรูปแบบการ ปรับตัวของรอย
ซีสเตอร์ แคลลีสตา รอย
(Sister Callista Roy)
เกิด 14 ตุลาคม 1939 ที่เมือง LosAngeles
ทำงานเป็นพยาบาลประจำแผนกเด็กนักวิจัย และ อาจารย์
มีความเชี่ยวชาญเรื่องทฤษฎีการพยาบาล สถานที่ทำงาน วิทยาลัยพยาบาลคอนเนลเมืองบลอสตัน
จบปริญญาโทสาขาวิชาการพยาบาลเด็ก
จบปรญิญาโท-เอกสาขา Sociology จากมหาวิทยาลัย University of California เมือง Los Angeles
มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักทั่วโลก
การปรับตัว (Adaptation )
กระบวนการและผลลัพธ์ของความคิด และความรู้สึกของบุคคล หรือ หลายกลุ่มคน โดยใช้ความตระหนักรู้ และ เลือกที่จะสร้างการอยู่รวมกันของ มนุษย์และสิ่งแวดล้อม การปรับตัวนาไปสู่การมีสุขภาพ ดี มีคุณภาพชีวิต และ ตายอย่างมีศักดิ์ศร
ข้อตกลงเบื้องต้น (Assumptions)
1.ข้อตกลงเบื้องต้นด้านปรัชญา (Philosophy assumption )
: บุคคลใช้ความสามารถของ ความเป็นมนุษย์ในการสร้างความตระหนัก การเกิดปัญญาหรือความรู้แจ้ง และความศรัทธา
2.ข้อตกลงเบื้องต้นด้านวิทยาศาสตร์ ( Scientific assumption)
การตัดสินใจของมนุษย์เป็นความรับผิดชอบในการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมด้วย กระบวนการที่สร้างสรรค์
ความคิดและความรู้สึกเป็นสื่อในการกระทำของมนุษย์
การปฏิรูปบุคคลและสิ่งแวดล้อมสร้างได้ด้วยสติสัมปชัญญะของมนุษย์
การรู้สติและความหมายเป็นองค์ประกอบในการอยู่รวมกันของบุคคลและสิ่งแวดล้อม
ความตระหนักในตนเองและสิ่งแวดล้อมคือรากฐานของความคิดและความรู้สึก
ผลลัพธ์ของการปรับตัวหมายถึงการปรับตัวของมนุษย์ให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม
3.ข้อตกลงเบื้องต้นด้านวัฒนธรรม ( Cultural assumptions )
ประสบการณ์ในวัฒนธรรมที่เฉพาะของสังคมน้ันมีอิทธิพลต่อรูปแบบการปรับตัว
มโนทัศน์หลักของ
การรูปแบบการปรับตัวของรอย
สุขภาพ (Health)
สภาวะ และ กระบวนการดำรงชีวิตที่อยู่รวมกันของบุคคล และ สิ่งแวดล้อมทั้งหมดได้อย่างสมบูรณ์ ซึ่งสะท้อนความสัมพันธ์ระหว่างการอยู่ร่วมกันของบุคคล และสิ่งแวดล้อม
2.สิ่งแวดล้อม (Environment)
สภาพการณ์ หรือ สิ่งที่อยู่รอบๆที่มีความสัมพันธ์ กับ บุคคล และ ส่งผลกระทบต่อการพัฒนา และ ปรับพฤติกรรมของปัจเจกบุคคลการเปลี่ยนแปลง และ ทำหน้าที่เป็นสิ่งเร้า
สิ่งเร้า (Stumuli)
สิ่งที่กระตุ้นให้บุคคลมีการตอบสนอง มาจากสิ่งแวดล้อมทั้งภายใน และ ภายนอก วัตถุ หรือ เหตุการณ์เมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้นอาจก่อให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับการปรับตัว
ประเภทของสิ่งเร้า
1.สิ่งเร้าตรง ( Focal Stimuli)
สิ่งกระตุ้นทั้งภายใน และ ภายนอกส่งผลกระทบมากที่สุด และ ส่งผลกระทบทันทีต่อระบบการปรับตัวบุคคล
2.สิ่งเร้าร่วม(Contextual stimuli)
สิ่งอื่นๆทั้งหมดซึ่งก่อให้เกิดผลเสริมของผลของสิ่งเร้าตรง เป็นปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการปรับตัวของมนุษย์ทั้งภายใน และ ภายนอก
3.สิ่งเร้าแฝง (Residual stimuli)
สิ่งที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการปรับตัวในสถานการณ์นั้น การส่งผลกระทบไม่ชัดเจน และ ไม่สามารถสังเกตเห็นสิ่งเร้าแฝงนั้นได้ แต่มีความสำคัญ และ อิทธิพลต่อพฤติกรรมการปรับตัว
3.บุคคล(Person)
1.กลไกลควบคุม (Regulator subsystem )
2.กลไกการรู้คิด(Cognator subsystem)
รูปแบบการปรับตัว (Mode of adaptation)
1.การปรับตัวด้านร่างกาย(Physiologic-physical mode)
รูปแบบการปรับตัวโหมดชีวภาพ (Physiological mode)
รูปแบบการปรับตัวหมวดกายภาพ (Physical mode)
1.1 การปรับตัวด้านด้านร่างกายในหมวดชีวภาพของบุคคล (Physiologic mode)
การปรับตัวตามความต้องการพื้นฐาน
ออกซิเจน (Oxygenation)
โภชนาการ (Nutrition)
การขับถ่าย (Elimination)
กิจกรรม และ การพักผ่อนนอนหลับ (Activity and rest)
การปกป้องคุ้มครอง(Protection)
1.1.1 การได้รับออกซิเจน (Oxygenation)
1.1.2 โภชนาการ (Nutrition)
การปรับตัวเกี่ยวกับการทำหน้าที่ของระบบย่อยอาหาร และ การทดแทนอาหาร เป้าหมายเพื่อคงไว้ในการทำหน้าที่ของบุคคลส่งเสริมการเจริญเติบโต ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ หรือ เนื้อเยื่อที่บาดเจ็บ
1.1.3 การขับถ่าย (Elimination)
เป็นความต้องการปรับตัวเกี่ยวกับการขับถ่ายของเสียออกจากร่างกายผ่านทางปัสสาวะ อุจจาระ จึงต้องประเมินทางเดินอาหาร และ ทางเดินปัสาาวะ
1.1.4 กิจกรรม และ การพักผ่อนนอนหลับ (Activity and rest)
เป็นการปรับตัวเกี่ยวกับการทำกิจวัตรประจำวัน การออกกำลังกาย การทำงาน ความแข็งแรงของกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ และ การนอนหลับพักผ่อน
1.1.5 การปกป้องคุ้มครอง (Protection)
1 more item...
การปรับตัวเกี่ยวกับระบบหายใจ และ ระบบไหลเวียนโลหิต ความเพียงพอของการได้รับออกซิเจน
1.2 รูปแบบการปรับตัวหมวดกายภาพ
สำหรับกลุ่มคนโดยการปรับตัวด้านนี้สัมพันธ์กับแหล่งปฏิบัติการขั้นพื้นฐาน
อาสาสมัคร (participants)
การอำนวยความสะดวกทางกายภาพ(physical facilities)
แหล่งทรัพยากรการเงิน(fiscal resource)
2.การปรับตัวของร่างกายตามกระบวนการที่ซับซ้อน
การรับความรู้สึก(Senses)
สารน้ำ และ อิเล็กโทรลัยท์ (Fluid,electrolyte,and acid-base balance)
การทำหน้าที่ของระบบประสาท(Neurological function)
1.2.1 การรับความรู้สึก (Senses)
การทำหน้าที่รับความรู้สึกขั้นพื้นฐานของประสาทหากปรับตัวไม่ได้จะทำให้เกิดความพิการทั้งชั่วคราว และ ถาวร
กระบวนการมอง(Version process)
กระบวนการการได้ยินเสียง (Hearing process)
กระบวนการรับความรู้ทางกาย(Feeling process from somatosensory system)
1.2.2สารน้ำ และ อิเล็กโทรลัยท์(Fluid and electrolytes)
เป็นการต้องการปรับตัวเกี่ยวกับกลไกการควบคุม และ การประสานการเคลื่อนไหวของร่างกาย การควบคุมการทำงานของอวัยวะ และ กระบวนการต่างๆของร่างกาย
1.2.4 การทำหน้าที่ของระบบต่อมไร้ท่อ(Endocrine function)
เป็นการหลั่งฮอร์โมนเพื่อควบคุมการทำหน้าที่ของอวัยวะ และ ระบบต่างๆของร่างกาย การทำหน้าที่ของต่อมไร้ท่อนี้มีบทบาทสำคัญต่อปฏิกิริยาตอบสนองต่อความเครียด และ กลไกการควบคุมของบุคคลสำคัญ
2.การปรับตัวด้านอัตมโนทัศน์(Self-concept mode)
เป็นความรู้สึก และ ความเชื่อเกี่ยวกับตนเองทั้งด้านภาพลักษณ์ ความคิด บุคลิกภาพ จิตวิญญาณ ความเชื่อรวมถึงศาสนาในช่วงเวลาหนึ่ง เกิดจากการรับรู้ปฏิกิริยาของบุคคลอื่นที่มีต่อตนเอง
3.การปรับตัวด้านบทบาทหน้าที่ (The role function mode)
บทบาทปฐมภูมิ(Primary role)
บทบาททุติยภาพ(Secondary role)
บทบาทตติยภูมิ(Tertiary role)
การปรับตัวด้านการพึ่งพาอาศัย(Interdependence mode)
4.การพยาบาล(Nursing)
การดูแลทุกระยะของมนุษย์ตามหลักวิทยาศาสตร์โดยผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาล ด้วยวิธีการส่งเสริมสุขภาพ และ ศักยภาพในการดำรงชีวิตของบุคคล ครอบครัว กลุ่มคน และ สังคมทั่วๆไป
ระดับการปรับตัว (Adaptation)
1.ขั้นปกติ(Integrated level)
2.ขั้นต้องการชดเชย(Compensatory level)
3.ขั้นบกพร่อง/อันตราย(Compromise level)
การประยุกต์ใช้รูปแบบการปรับตัวของรอย
โดยใช้ 6 ขั้นตอน
ขั้นที่ 1การประเมินพฤติกรรมการปรับตัว(Assessment of behavior(from 4-adaptation mode)
ขั้นที่ 2การประเมินสิ่งเร้า(Assessment of stimuli)
ขั้นที่ 3 การกำหนดข้อวินิจฉัยการพยาบาล(Nursing diagnosis)
ขั้นที่ 4 การกำหนดเป้าหมายการส่งเสริมการปรับ (Goals Setting:to promote adaptation)
ขั้นที่ 5 การบำบัดทางการพยาบาล(Implements intervention)
ขั้นที่ 6 การประเมินผล(Evaluation)
นางสาวอริสา เพ็งแสงทอง รหัสนักศึกษา 63102301112