Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 รูปแบบของแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ -…
บทที่ 6
รูปแบบของแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ความหมายของแผนการจัดการเรียนรู้
การเตรียมการจัดการเรียนรู้ไว้ล่วงหน้าอย่างเป็นระบบ
และเป็นลายลักษณ์อักษร
แผนการจัดการเรียนรู้
ระดับหน่วยการเรียน (Unit Plan)
ระดับบทเรียน (Lesson Plan)
แนวทางในการดำเนินการจัดการเรียนรู้ในกลุ่มสาระใดสาระการเรียนรู้หนึ่ง ให้บรรลุตามจุดมุ่งหมายที่หลักสูตรกำหนด
ประโยชน์ของการทำแผนการจัดการเรียนรู้
เพื่อให้ครูผู้สอนมีความมั่นใจและเชื่อมั่นในการเรียนรู้
เพื่อให้เกิการปรับปรุงวิธีการจัดการเรียนรู้จากข้อจำกัดที่พบ
เพื่อให้สามารถเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้ให้พร้อมก่อนทำการสอนจริง
เพื่อให้ผู้อื่นสอนแทนได้ในกรณีที่มีเหตุจำเป็น
เพื่อให้จัดการเรียนรู้ได้สอดคล้องกับความถนัด ความสนใจ และความต้องการของผู้เรียน
เพื่อเป็นหลักฐานสำหรับการพิจารณาผลงานและคุณภาพในการปฏิบัติการสอน
เพื่อให้เห็นความต่อเนื่องของการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตร
เพื่อเป็นเครื่องบ่งชี้ความเป็นวิชาชีพของครูผู้สอน (แผนการจัดการเรียนรู้เป็นลักษณะเฉพาะของวิชาชีพครู)
องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้
เนื้อหา (Content)
กิจกรรมการเรียนรู้ (Activities)
จุดประสงค์การเรียนรู้ (Objective)
สื่อการเรียนรู้ (Material & Media)
สาระสำคัญ (Concept)
การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ (Assessment)
หัวเรื่อง (Heading)
รููปแบบของแผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบบรรยายหรือแบบเรียงหัวข้อ
แผนการจัดการเรียนรู้ชนินี้จะเป็นรายละเอียดขององค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ตามลำดับโดยใช้ความเรียง
เป็นรูปแบบที่ได้รับความนิยม แต่มีข้อจำกัดในกรณีที่รายละเอียดอยู่คนละหน้ากัน จึงยากต่อการมองเห็นความสัมพันธ์ของแต่ละองค์ประกอบ
แผนการจัดการเรียนรู้แบบตาราง
แผนการเรียนรู้ชนิดนี้เป็นการนำรายละเอียดของแต่ละองค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้
เป็นกา่รนำรายละเอียดมาเขียนลงในตารางหน้าเดียวกัน เพื่อง่ายต่อการมองเห็นความสัมพันธ์ของแต่ละองค์ประกอบ แต่มีข้อจำกัดในด้านพื้นที่ในการเขียนและภาระในการตีตาราง
ลักษณะของแผนการจัดการเรียนรู้ที่ดี
กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้จาการใช้สื่อการเรียนรู้อย่างหลากหลาย ทั้งนี้รวมถึงแหล่งเรียนรู้ที่สามารถจัดหาได้ในท้องถิ่น
6.กิจกรรมที่กระตุ้นให้ผู้เรียนทำงานร่วมกับผู้อื่น
กิจกรรมที่บูรณาการทั้งด้านความรู้ (K) คุณธรรมจริยธรรม สร้างจิตสำนึกต่อสังคม (A) และทักษะกระบวนการ (P)
กิจกรรมที่กระตุ้นให้ผู้เรียนสร้างผลงานจากการปฏิบัติ
กิจกรรมที่เน้นกระบวนการ มุ่งให้ผู้เรียนรับรู้และนำกระบวนการไปใช้จริง
กิจกรรมที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
กิจกรรมกระตุ้นให้ผู้เรียนได้ค้นพบและสร้างความรู้ด้วยตนเอง
กิจกรรมที่พัฒนาความสามารถเฉพาะบุคคล
กิจกรรมให้ผู้เรียนคิดและลงมือปฏิบัติให้มากที่สุด
กิจกรรมที่พัฒนาทักษะในการใช้ภาษา