Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง, By Patcharapong Yodnuan - Coggle…
บทที่ 3 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ขั้นตอนของการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
3.การกำหนดขอบเขตของรายงานการวิจัยที่จะค้นคว้า
4.การระบุสิ่งที่จะจดบันทึก
2.การออกแบบการค้นคว้า
5.การจัดระบบโครงสร้างของสิ่งที่บันทึก
6.การลงมือเขียนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1.การกำหนดและการตรวจสอบหัวข้อที่ศึกษา
การอ่านเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1.การอ่านคร่าว ๆ
2.การอ่านแบบวิเคราะห์
2.2. การอ่านเก็บรายละเอียด
2.3. การอ่านเพื่อศึกษาการจัดระเบียบความคิด
2.1. การอ่านเก็บความคิดสำคัญ
2.4. การอ่านระหว่างบรรทัด
การเลือกเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.พิจารณาเนื้อหาสถานะในแง่ของความทันสมัย ความถูกต้อง ความชัดเจน และความเชื่อถือได้
3.วางแผนการคัดเลือกเอกสาร โดยพยายามเริ่มศึกษาเอกสารที่เป็นผลงานวิจัยที่ศึกษาตัวแปรเดียวกันหรือปัญหาเดียวกันก่อนทีละตัวแปร
1.พยายามเลือกเอกสารที่มีเนื้อหาสาระเกี่ยวข้องสัมพันธ์เชื่อมโยงกับหัวข้อวิจัย
4.การเลือกงานวิจัยที่เกี่ยวข้องควรวิเคราะห์คุณภาพของงานวิจัยก่อนและพยายามเลือกงานวิจัยที่เกี่ยวของโดยตรง
ความหมายของเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง หมายถึง การศึกษาค้นคว้าและเก็บรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ จากเอกสารทางวิชาการและรายงานการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับปัญหาหรือประเด็นที่ทำการวิจัย เพื่อนำหลักฐานต่าง ๆ ที่สืบค้นได้นั้นมาสังเคราะห์และประมวลผลเข้าด้วยกันให้เกิดการสั่งสมองค์ความรู้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะช่วยให้กำหนดกรอบการวิจัย คำถามการวิจัย ตัวแปร สมมติฐานการวิจัย ตลอดจนแนวทางการดำเนินการวิจัยและอภิปรายผลได้อย่างสมเหตุสมผล
จุดมุ่งหมายของการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
4.เพื่อค้นหาเทคนิคและวิธีการในการทำวิจัย
5.เพื่อช่วยในการแปลความหมายข้อมูล
3.เพื่อหลีกเลี่ยงการทำวิจัยซ้ำกับคนอื่น
6.เพื่อช่วยในการสรุปและนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
2.เพื่อให้เกิดความกระจ่างในปัญหาที่จะทำวิจัย
7.เพื่อเตรียมเขียนรายงานการวิจัย
1.เพื่อเลือกปัญหาที่จะทำวิจัย
ประเภทของเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1.เอกสารสิ่งพิมพ์
1.3.เอกสารทุติยภูมิ
1.2.เอกสารปฐมภูมิ
1.1.เอกสารอ้างอิง
2.เอกสารที่ไม่ใช่สิ่งพิมพ์
2.1.สื่อโสตทัศนูปกรณ์
2.2. ฐานข้อมูลสำเร็จรูปในสาขาวิชาต่าง ๆ
2.3. ฐานข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
2.4. ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ไทย
ที่มาของกรอบแนวคิดของการวิจัย
2.ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
3.แนวความคิดของผู้วิจัย
1.ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การนำเสนอกรอบแนวคิดของการวิจัย
2.การเขียนแบบจำลองหรือฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์
3.การเขียนแบบแผนภาพ
1.การเขียนบรรยาย
4.การเขียนแบบผสมผสาน
หลักการสร้างกรอบแนวคิดของการวิจัย
2.พิจารณาจากความง่ายและไม่ซับซ้อน
3.พิจารณาจากความมีประโยชน์
1.เลือกทฤษฎีที่มีสาระตรงกับหัวข้อวิจัยมากที่สุด
4.พิจารณาจากภาพรวมของงานวิจัย
ประโยชน์ของการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.สำหรับผู้ที่ได้หัวข้อวิจัยแล้ว จะช่วยไม่ให้เกิดสภาพตายตอนจน
3.สำหรับผู้ที่อ่านรายงานการวิจัย ช่วยให้สามารถประเมินคุณภาพงานวิจัยจากการประเมินคุณภาพของการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1.สำหรับผู้ที่ยังไม่ได้หัวข้องานวิจัย เมื่ออ่านเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องแล้วจะช่วยให้เลือกปัญหาวิจัยได้ และได้หัวข้อวิจัยที่ไม่ซ้ำซ้อนกับผู้อื่น
ความหมายของกรอบแนวคิดของการวิจัย
กรอบแนวคิดของการวิจัย หมายถึง แนวคิดหรือแบบจำลองที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดยใช้ทฤษฎี ข้อสรุปเชิงประจักษ์ ข้อมูลจากสมมติฐานและผลงานวิจัยในอดีต นำมาสังเคราะห์เพื่อให้ได้ภาพรวมของงานวิจัยเรื่องนั้น เพื่อแทนความเกี่ยวข้องสัมพันธ์ระหว่างปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจริง แล้วนำไปตรวจสอบว่ามีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์หรือไม่เพียงใด
ประโยชน์ของกรอบแนวคิดของการวิจัย
3.ทำให้ผู้วิจัยสามารถวางแผนเก็บข้อมูลได้เหมาะสมกับลักษณะของตัวแปร
4.สามารถเลือกใช้สถิติจัดกระทำกับตัวแปรได้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของการวิจัย
2.ทำให้ผู้วิจัยสามารถออกแบบการวิจัยได้เหมาะสมกับตัวแปรที่ศึกษาและตัวแปรที่ต้องควบคุม
5.ผู้ทำวิจัยเห็นภาพรวมของการวิจัย และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่างๆ อย่างมีเหตุผล
1.ทำให้ผู้วิจัยทราบว่าตัวแปรที่จะวัดหรือเก็บข้อมูลมีกี่ตัว อะไรบ้าง
By Patcharapong Yodnuan