Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
PATHOLOGY OF THE ENDOCRINE SYSTEM - Coggle Diagram
PATHOLOGY OF THE ENDOCRINE SYSTEM
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นของระบบต่อมไร้ท่อ
ภาวะที่ต่อมทำงานมากเกินไป (Excessive / Hyperfunction)
ภาวะที่ความไวต่อฮอร์โมนลดลง (Hormone resistant)
ภาวะที่ต่อมทำงานน้อยเกินไป หรือไม่เพียงพอ (Insufficiency or
Deficiency or Hypofunction)
ต่อมใต้สมอง (Pituitary gland)
Hypopituitarism (Hypofunction)
การลดลงของระดับฮอร์โมนในต่อมใต้สมอง ซึ่งอาจเป็นผลจาก
ความผิดปกติใน hypothalamus หรือ pituitary
ความผิดปกติแต่กำเนิด
(Congenital / Genetic)
Pituitary dysplasia (การเจริญของต่อมใต้สมองผิดปกติ)
Developmental Hypothalamic Dysfunction
เกิดขึ้นในภายหลัง
(Acquired)
Apoplexy (ภาวะเลือดออกเฉียบพลันในต่อมใต้สมอง)
Hypophysitis (ต่อมใต้สมองอักเสบ)
Trauma / Post surgery / Radiotherapy
Sheehan syndrome (การขาดเลือดในต่อมใต้สมอง)
Tumor / Infiltrative disease
Central Diabetes insipidus (DI)
มีอาการสําคัญคือ ปัสสาวะบ่อย (polyuria) ปริมาณปัสสาวะมากกว่า
3 ลิตร ต่อวัน ซึ่งเป็นผลจากการที่ไต
ไม่สามารถดูดน้ํากลับจากปัสสาวะได้อย่างเหมาะสม
อาการของการขาดน้ำ หัวใจเต้นเร็ว หรือ ช็อคได้หากทดแทนสารน้ำไม่ทัน
การขาด ADH ซึ่งเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุได้แก่ การบาดเจ็บที่ศรีษะ
เนื้องอก การอักเสบที่เกี่ยวข้องกับต่อมใต้สมอง
หรือ hypothalamus และ การ ผ่าตัดสมอง
ตรวจพบปัสสาวะเจือจาง และมีความถ่วงจําเพาะต่ำ ระดับของโซเดียมสูง (hypernatremia) ในซีรัมและ serum osmolality เพิ่มสูงขึ้นเนื่องจากมี การ ขับน้ําออกทางไตอย่างมาก ทําให้เพิ่มความกระหายน้ํา ดื่มน้ํามากขึ้นและบ่อยขึ้น (polydipsia)
Hyperpituitarism (Hyperfunction)
สาเหตุส่วนใหญ่ของการสร้างฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วน หน้าเพิ่มขึ้น (hyperpituitarism) เป็นจากการมี Adenoma (เนื้องอกในต่อมใต้สมอง)
สาเหตุที่พบน้อยกว่า ได้แก่ Hyperplasias (ต่อมใต้สมอง โตผิดปกติ) และ Carcinomas (มะเร็งต่อมใต้สมอง)
Cushing’s syndrome
Cortisol excess, regardless of the cause.
Cushing's disease is reserved for Pituitary-dependent Cushing's syndrome
Cushing’s disease
(ACTH dependent) (Corticotroph adenoma)
การที่มีการสร้าง ACTH เพิ่มขึ้นทําให้ต่อม หมวกไตมีการหลั่ง cortisol มากขึ้นและ ทําให้เกิดภาวะ hypercortisolism
Cushing syndrome ที่สัมพันธ์กับรอยโรค
ในต่อมใต้สมองว่า Cushing disease
ความผิดปกตินี้พบในเพศหญิงมากกว่าเพศ ชาย และมักพบในช่วงอายุ 20-30 ปี
Acromegaly / Gigantism (somatotroph adenoma)
การที่มี GH ในระดับสูงกระตุ้นให้ตับมีการหลั่งสาร insulin-like growth factor (IGF-I) ซึ่งจะทําให้เกิดอาการทางคลินิกหลายอย่าง
ในผู้ป่วยเด็กที่ Epiphyses ยังไม่ปิด ระดับของ GH (และ IGF-I) ที่เพิ่มขึ้น จะทําให้เกิด gigantism ซึ่งมีลักษณะคือขนาดตัวใหญ่ขึ้นโดยที่ แขนและขา ยาวไม่เป็นสัดส่วนกัน
ในผู้ป่วยที่ Epiphyses ปิดแล้ว ผู้ป่วยจะเกิด Acromegaly มีการเจริญเติบโต มากผิดปกติเห็นได้ชัดที่ ผิวหนัง เนื้อเยื่อ อวัยวะภายใน (ต่อมไธรอยด์ หัวใจ ตับ และต่อมหมวกไต) และ กระดูกของใบหน้า มือ และเท้า กรามจะขยาย ขนาดขึ้นทําให้ยื่นออกมา (prognathism) และใบหน้าส่วนล่างกว้างขึ้น ฟัน หน้า ห่าง ฟันบนและล่างไม่สบกัน จมูกหนา มือและเท้าขยายขนาดใหญ่ขึ้น
Prolactinoma
Hyperfunctioning pituitary adenoma ที่พบได้บ่อยที่สุด ประมาณ 30% ของ pituitary adenoma ทั้งหมด
การวินิจฉัยเนื้องอกมักทําได้เร็วในเพศหญิงมากกว่าเพศชายโดยเฉพาะในช่วงอายุ ระหว่าง 20 – 40 ปี ซึ่งอาจเป็นเพราะมาด้วยขาดประจําเดือน
ผู้ป่วยหญิงที่อายุมากหรือผู้ป่วยเพศชายจะมีอาการน้อยกว่าทําให้เนื้องอกมีขนาด ใหญ่ (Macroadenoma)ในตอนที่ตรวจพบ
การเพิ่มปริมาณของ prolactin ในเลือดหรือ hyperprolactinemia ทําให้มีอาการ ขาดประจําเดือน (amenorrhea), น้ํานมไหล (galactorrhea), หมดความต้องการทาง เพศ (loss of libido) และ ขาดความสามารถในการสืบพันธ์ (infertility)
Physiologic prolactinemia เกิดในระหว่างตั้งครรภ์ซึ่งระดับของ prolactin จะ ค่อยๆสูงขึ้นและสูงที่สุดหลังคลอด ระดับของ prolactin ยังเพิ่มขึ้นเมื่อมีการกระตุ้นที่ หัวนมหรือระหว่างการให้นมบุตร
THYROID GLAND
Hormone excess
Hyperthyroidism สร้างฮอร์โมนมากขึ้นผิดปกติจาก ต่อมไทรอยด์
Thyrotoxicosis ฮอร์โมนไทรอยด์มากผิดปกติในกระแสเลือด
Graves’ disease (GD)
ผู้ป่วยโรคนี้อายุอยู่ระหว่าง 30-50 ปี พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย
อาการทางตา (Graves’ ophthalmopathy) ได้แก่ หนังตาบวม ตาโปน ตาแดง ปวดตา เห็นภาพซ้อน ถ้าเป็นมากจนมองไม่เห็นจากการกดเส้นประสาทตาพบ 20-30% ของผู้ป่วย Graves’ disease
เป็นสาเหตุของโรคไทรอยด์เป็นพิษที่พบบ่อยที่สุด
อาการทางผิวหนัง (Dermopathy) ลักษณะเป็นหนังนูนแข็งมีอาการคัน กดไม่บุ๋ม มีรูขุมขนชัดคล้ายผิวส้มเรียกว่า localized myxedema พบ 0.5-4.3 % ของผู้ ป่วย Graves’ disease
เป็นโรคที่อยู่ในกลุ่ม Autoimmune disease มีการสร้าง Thyroid stimulating immunoglobulin (TSI) มากระตุ้น TSH receptor ที่ต่อมไทรอยด์ จึงตรวจพบ Thyroid autoantibodies เช่น Anti Thyrotropin Receptor (TRAb)
การรักษาอาการต่อมไทรอยด์เป็นพิษ
( thyrotoxicosis )
ยาต้านไทรอยด์ (Antithyroid drug) เป็นยาในกลุ่ม thionamides ได้แก่ Prophylthiouracil (PTU), Methimazole (MMI) และ Carbimazole
ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ thyroid peroxidase และยับยั้ง กระบวนการเปลี่ยน T4 ไปเป็น T3 ที่ peripheral tissue
อาการข้างเคียงที่พบบ่อย ได้แก่ อาการแพ้ยาเช่น มีไข้ ผื่นหรือ ลมพิษ ปวดตามข้อ ตับอักเสบ ผลข้างเคียงรุนแรง เช่น Agranulocytosis อาการที่บ่งชี้ว่าเกิดภาวะนี้คือ มีไข้สูง เจ็บคอ
ยากลุ่มเบต้าบล็อกเกอร์ (Beta-blocker) ลดอาการทาง Sympathetics
การรักษาด้วยสารกัมมันตภาพรังสีไอโอดีน (I-131)
ผ่าตัดไทรอยด์
Hormone deficiency
Hypothyroidism ภาวะพร่องฮอร์โมนไทรอยด์
Cretinism (โรคเอ๋อ)
Hypothyroidism ที่เกิดในเด็กทารกหรือเด็กเล็ก
อาการแสดงของ Cretinism ได้แก่
ความผิดปกติของการเจริญเติบโตของกระดูกและสมอง ทําให้มี อาการปัญญาอ่อนอย่างมาก ตัวเตี้ย ใบหน้าหยาบ (coarse facial facies) ลิ้นคับปาก และ umbilical hernia
ความรุนแรงของอาการ ทางสมองเป็นผลโดยตรงจากการที่ขาดไธ รอยด์ฮอร์โมนตั้งแต่อยู่ในครรภ์
ในอดีตโรคนี้เกิดใน พื้นที่ขาดไอโอดีนซึ่งพบได้น้อยลงในปัจจุบัน เนื่องจาก มีการเสริมไอโอดีนลงในอาหาร
Hashimoto thyroiditis (Chronic lymphocytic thyroiditis)
คือการที่ค่อยๆสูญเสียการทํางานของต่อมจาก autoimmune destruction
มีการทําลายของ thyroid epithelial cell (thyrocyte) และ ถูกแทนที่ ด้วย mononuclear inflammatory cells และ fibrosis
มักพบในผู้ป่วยอายุระหว่าง 45-65 ปี โดยพบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย
จะมาพบแพทย์ด้วยต่อมไทรอยด์โต ไม่เจ็บ และ มักมีอาการของ hypothyroidism ร่วมด้วย แต่ในบางรายจะมีอาการ transient thyrotoxicosis (“hashitoxicosis”) นํามาก่อน
ADRENAL GLANDS
Addison’s disease
Primary aldosteronism
Conn’s syndrome
Aldosterone production is inappropriately high
Cause hypertension, cardiovascular damage, Na retention, Hypokalemia ===> Higher cardiovascular morbidity and mortality
Pheochromocytoma
Paraganglioma
PARATHYROID GLANDS
ปกติ Parathyroid hormone (PTH) : ทำหน้าที่เพิ่ม Ca + ลด PO4
ในภาวะแคลเซียมในเลือดสูง ==> PTH จะถูกยับยั้งไม่ให้หลั่ง
ในภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำ ==> PTH จะถูกกระตุ้นให้หลั่งเพิ่ม
Hyperparathyroidism
Hypoparathyroidism
Familial hypoparathyroidism
Idiopathic hypoparathyroidism
Post-surgical Hypoparathyroidism: เกิดเมื่อมีการ ผ่าตัดต่อมไธรอยด์และเอาต่อมพาราไธรอยด์ทั้งหมด ออกออกไปด้วยความประมาท หรือการเข้าใจผิดคิดว่า ต่อมพาราไธรอยด์เป็นต่อมน้ําเหลือง
อาการส่วนใหญ่ของผู้ป่วย hypoparathyroidism เป็นเนื่องจาก hypocalcemia และสัมพันธ์กับความรุนแรงและ ระยะเวลาที่เกิด hypocalcemia
Tetany : Perioral-distal extremities parenthesia, Carpopedal spasm, Laryngospasm, Generalized seizures
PANCREAS
Classification of DM
Type 2 diabetes
Gestational diabetes mellitus (GDM)
Type 1 diabetes
Specific types of diabetes due to other causes
อาการ และ อาการแสดง
ปัสสาวะบ่อย และมาก (Polyuria) ปัสสาวะกลางคืน (Nocturia)
คอแห้ง กระหายน้ำ ดื่มน้ำมาก (Polydipsia)
น้ำหนักตัวลดลง (Weight loss)
อ่อนเพลีย
ถ้าเป็นแผลจะหายยาก มีการติดเชื้อตามผิวหนัง, ติดเชื้อรา
มีอาการผิวแห้งคันตามผิวหนัง
ตาพร่ามัว ชาปลายมือปลายเท้า