Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้ยาในผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
แนวปฏิบัติของพยาบาลในการส่งเสริมการใช้ยาอย่างถูกต้องในผู้สูงอายุ
1.ประเมอนเกี่ยวกับประวัติการใช้ยาของผู้สูงอายุอย่างครอบคลุม
2.ประเมินความเข้าใจของผู้สูงอายุเกี่ยวกับการใช้ยา
3.ให้ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย
4.ให้ความรู้เกี่ยวกับผลกระทบการใช้ยาหลายชนิด
5.ให้ความรู้เกี่ยวกับจุดประสงค์การให้ยา
6.อธิบายความหมายของคำที่เกี่ยวข้องกับการให้ยา
7.อธิบายเกี่ยวกับการเสือมสภาพการหมดอายุของยา
8.จัดเตรียมอุปกรณ์ต่างๆ
9.ประเมินครอบครัว
10.แนะนำผู้สูงอายุ
11.หากมีอาการข้างเคียงของยาควรดำเนินส่งต่อข้อมูลกับแพทย์
12.การไม่ใช้ยาในผู้สูงอายุสมองเสื่อม
13.การประเมินและทบทวนการบริหารยา
14.ส่งเสริมการรับประทานอาหารที่สนับสนุนการดูดซึมยา
15.จัดโปรแกรมสอนให้ความรู้เกี่ยวกับยา
กลุ่มยาที่ใช้บ่อยและอาจทำให้เกิดผลข้างเคียงหรืออันตราย ยาที่เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างยาและการพยาบาล
1.ยานอนหลับ
ง่วง สับสน กดประสาทส่วนกลาง
2.ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ภาะวะน้ำตาลต่ำ โซเดียวต่ำและแร่ธาตุ
3.ยาที่มีผลต่อหัวใจและหลอดเลือด
หน้ามืดเป็นลมเมื้อเปลี่ยนอริยบถ
4.ยาต้านโรคจิต และซึมเศร้า
พิษต่อประสาท สับสน เพ้อคลั่งความจำเสื่อมเฉียบพลัน
5.ยาระงับปวดและการอักเสบ
กดศูนย์หายใจ แผลในระบบทางเดินอาหาร พิษต่อตับและไต
6.ยาต้านจุลชีพ
มีพิษต่อไตมาก
7.ยากันชัก
ภาวะพร่องวิตามินดีเกิดกระดูกเปราะ
ปัญหาการใช้ยาในผู้สูงอายุ
1.กระบวนการเปลี่ยนเเปลงของร่างกายจากกระบวนการชราที่ส่งผลต่อเภสัชจลศาสตร์และเภสัชพลศาสตร์
2.การใช้ยาหลายชนิดร่วมกันหลายขนาน
3.ความผิดพลาดจากตัวผู้ใช้ยา
การซื้อยามาใช้เอง รับประทานยาหมดอายุ
ปัจจัยที่มีผลทำให้เกิดปัญหาการใช้ยา
1.ปัจจัยที่เกี่ยวกับตัวผู้สูงอายุ
กระบวนการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย
2.ปัจจัยด้านพฤติกรรมการใช้ยา
-การใช้ยาด้วยตนเอง
-ความร่วมมือในการใช้ยา
บริหารยาไม่ตรงตามที่แพทย์สั่ง การรักษาไม่ต่อเนื่อง
การเปลี่ยนแปลงทางเภสัชจลวิทยาในผู้สูงอายุ
1.เภสัชจลศาสตร์
การดูดซึมยา ระบบทางเดินอาหารมีการเปลี่ยนแปลง
ความเป็นกรดในกระเพราะลดลง การบีบตัวลดลง
การกระจายตัวของยา
ปริมาณน้ำในร่างกาย มวลกล้ามเนื้อ โปรตีนลดลงไขมันในร่างกายเพิ่มขึ้น
การกระจายตัวของยาละลายดีในน้ำลดลงความเข้มข้นของยาในเลือดสูงขึ้น
เมตะบอลิสมของยา
ขนาด ปริมาณไหลผ่านตับ การทำงานของตับลดลง ตับกำจัดยาได้น้อยลงทำให้ยาอยู่ในร่างกายและออกฤทธิ์ได้นานจึงเกิดผลข้างเคียง
การขับถ่ายยาทางไต
ยาที่ขับออกทางไตมีโอกาสสะสมและเกิดผลข้างเคียง
2.เภสัชพลศาสตร์
ทำให้เกิดผลทั้งด้านที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์
ส่วนใหญ่มักเป็นเรื่องของยาต่อระบบไหลเวียนเลือดและระบบประสาท ส่วนใหญ่มีผลกับผู้สูงอายุมากกว่าหนุ่มสาว