Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาสมุนไพรตามบัญชียาหลักเเห่งชาติ - Coggle Diagram
ยาสมุนไพรตามบัญชียาหลักเเห่งชาติ
ยารักษากลุ่มอาการ
ทางระบบผิวหนัง
ยารักษาโรคเริม
และงูสวัด พญายอ
ข้อบ่งใช้
-ยาครีม บรรเทาอาการของเริมและงูสวัด
-สารละลาย (สำหรับป้ายปาก) รักษาแผลในปาก แผลจากการฉายรังสและเคมีบำบัด
-ยาโลชั่น บรรเทาอาการผดผื่นคัน ลมพิษ ตุ่มคัน
-ยาขี้ผึ้ง บรรเทาอาการอักเสบ ปวด บวมจากแมลงกัดต่อย
มีฤทธิ์
ต้านไวรัส Herpes simplex virus type 1 และ type 2โดยสารสำคัญในพญายอมีฤทธิ์ทำให้ไวรัสไม่สามารถเข้าสู่เซลล์ของร่างกายและไม่สามารถแพร่กระจายต่อไปได้
ขนาดและวิธีใช้
ทาบริเวณที่มีอาการ วันละ 5 ครั้ง
ยารักษาแผลไฟไหม้ น้ำ ร้อนลวก
ว่านหางจรเข้
-สารที่สำคัญ Aloctin A
-ลดการอักเสบและเพิ่มการเจริญทดแทนเนื้อเยื่อ
อาการไม่พึงประสงค์
อาจมีอาการคัน ผื่นแดง หรือผื่นแพ้สัมผัส
ยารักษาอาการอื่นๆ
ยาลดความอยากบุหรี่ หญ้าดอกขาว
อาการไม่พึงประสงค์
ปากคอแห้ง
ข้อควรระวัง
-ระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคหัวใจ โรคไต เนื่องจากหญ้าดอกขาวมี potassium สูง
ยาถอนพิษเบื่อเมา รางจืด
-ถอนพิษไข้ แก้ร้อนใน ถอนพิษเบื่อเมาข้อควรระวัง-
ควรระวัง
-การใช้ในผู้ป่วยเบาหวาน เพราะอาจเกิดภาวะน้ำ ตาลในเลือดต่ำ
-ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยที่ต้องใช้ ยาต่อเนื่อง เพราะยารางจืด อาจเร่งการขับ ยาเหล่าน้นออกจากร่างกาย ทำให้ประสิทธิผลของยาเหล่านั้นลดลง
กัญชา
อาการข้างเคียง
-มึนเวียนศรษะ ( dizziness)
-เสียความสมดุล ( loss of co-ordination)
-หัวใจเต้นชา (bradycardia)
-ความดันโลหิตผิดปกติ (abnormal pressure)
-สับสน (disorientation)กระวนกระวาย (agitation)
-วิตกกังวล (anxiety)ประสาทหลอน (hallucination)โรคจิต (psychosis)
ข้อห้ามใช้
-ผู้ที่แพ้สารสกัดจากกัญชา
-ผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยงโรคหลอดเลือดหัวใจ
-ผู้ที่เป็นโรคจิตมาก่อน
-สตรีมีครรภ์ข้อควรระวัง
-เป็นโรคตับ ติดสารเสพติด
-ผู้ที่ใช้ยากลุ่ม opioids และยากล่อมประสาท
-ผู้ป่วยเด็กและสูงอายุ
-กัญชาสามารถส่งผข้างเคียงรุนแรงต่อร่างกายและจิตใจ ห้ามใช้กัญชาในคนปกติ
ชื่อวิทยาศาสตร์
: Cannabis sativa
สาระสำคัญในกัญชา
-9-tetrahydrocannabinol (THC) ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท
-Cannabidiol (CBD) ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท
-จัดเป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท
5THC
-กระตุ้น cannabinoid receptors (CB) คือ CB1 CB2-CB1: เกี่ยวข้องกับอาการเมากัญชา ผลทางจิตใจ
-CB2: เกี่ยวข้องกับความอยากอาหาร การย่อยอาหาร อารมณ์ ความรู้สึก ความจำการเรียนรู้
CBD
-กระตุ้น CB1 และ CB2
-ลดอาการปวด อักเสบ และลดความกังวล
การใช้กัญชาทางการแพทย์
-กัญชา คือพืชสมุนไพรที่มีคุณสมบัติใช้เป็นยารักษาหรือ ยาบรรเทาอาการของโรคบางอย่าง มีทั้งคุณและโทษ อีกทั้งมีช่วงความปลอดภัยของปริมาณการใช้แคบ
-กัญชาออกฤทธิ์ต่อร่างกายทุกระบบ จึงจำเป็นต้องควบคุมและดูแลการใช้อย่างรอบคอบ-การใช้กัญชาระยะยาว เสี่ยงต่อการติดยา อาการขาดความกระตือรือร้น อาการเพ้อและกระวนกระวาย
ยารักษากลุ่มอาการทาง
กล้ามเนื้อและกระดูก
เถาวัลย์เปรียง
อาการไม่พึงประสงค์
-ปวดท้อง ท้องผูก ปัสสาวะบ่อย คอแห้ง
-ใจสั่น เวียนศีรษะ ปวดศีรษะ อุจจาระเหลว
ข้อห้ามใช้
หญิงตั้งครรภ์
ข้อควรระวัง
-ผู้ป่วยโรคแผลในกระเพาะอาหาร เนื่องจากยาออกฤทธิ์
-คล้ายยาแก้ปวดกลุ่ม NSAIDs
-อาจทำให้เกิดการระคายเคืองทางเดินอาหาร-ระวังการใช้ยานี้ร่วมกับยาที่มีฤทธิ์ลดระดับความดันโลหิต เนื่องจากมีการรายงานว่าเถาวัลยเปรียงมีฤทธิ์ทำให้ความดันโลหิตต่ำ
สารสำคัญกลุ่ม
isoflavonoids และ scandenin
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ต้านการอักเสบโดยการยับยั้งเอนไซม์ cyclooxygenase (COX) และlipoxygenase (LOX)
ข้อบ่งใช้ ขนาดและวิธีใช้
-ยาเถาวัลย์เปรียง: บรรเทาอาการปวดเมื6อยกล้าเนื้อ ลดการอักเสบของกล้ามเนื้อ รับประทานครั0งละ 500 mg.-1 g. วันละ3 ครั้งหลังอาหารทันที
-ยาสารสกัดจากเถาวัลย์เปรียง: บรรเทาอาการปวดหลังสวนล่าง อาการปวดจากข้อเข่าเสื่อม รับประทานครั้งละ 400mg. วันละ 2 ครั้งหลังอาหารทันที
ยาสหัศธารา
ข้อบ่งใช้
ขับลมในเส้น โรคลมกองหยาบ โรคลมในเส้น มือชาเท้าชา
อาการไม่พึงประสงค์
ร้อนท้อง แสบท้อง คลื่นไส้ คอแห้ง ผื่นคันข้อ
ห้ามใช้
หญิงมีครรภ์ มีไข้
ข้อควรระวัง
-ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคแผลในกระเพาะอาหาร โรคกรดไหลย้อน
-การใช้ยาต่อเนื่อง โดยเฉพาะผู้ป่วยโรคตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมและเกิดพิษของการบูร
ไพล
(Cassumunar Ginger)
สารสำคัญ
มีฤทธิ์ต้านการอักเสบ โดยยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ cyclooxygenase (COX) และ lipoxygenase(LOX)
ข้อบ่งใช้
บรรเทาอาการบวม เคล็ดยอก ฟกช้ำ
วิธีการใช้
ทาและนวดเบาๆ บริเวณที่มีอาการวันละ 2-3 ครั้ง
พริก (Chili pepper)
สารสำคัญคือ
capsaicin
ฤทธิ์ทางเภสชวิทยา
-กระตุ้นตัวรับบริเวณปลายประสาทรับความรู้สึก
-มีการหลั่งของสารสอประสาทจากปลายประสาทรับความรู้สึก ในช่วงแรกของการทาจึงเกิดความรู้สึกแสบปวดร้อน
-จากนั้นสารสอประสาทลดลง ทำให้อาการแสบปวดร้อนลดลง พร้อมกับสามารถลดอาการปวดบริเวณนั้นได้
ข้อบ่งใช้
บรรเทาอาการปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ
วิธีการใช้
ทาและนวดเบาๆ บริเวณที่มีอาการวันละ 3-4 ครั้ง
อาการไม่พึงประสงค์
ผิวหนังแดง ปวด และแสบร้อน
ยารักษากลุ่มอาการ
ของระบบทางเดินหายใจ
ยาบรรเทาอาการหวัด
ฟ้าทะลายโจร
(Andrographis)
-กระทรวงสาธารณสุขให้สั่งใช้ฟ้าทะลายโจรเป็นลำ ดับแรก (first line drug)สำหรับบรรเทาหวัด
-ให้ใช้ฟ้าทะลายโจรแทนการใช้ยาปฏิชีวนะโดยไม่จำ เป็นสำ หรับบรรเทาอาการเจ็บคอและไข้หวัด ตามนโยบายการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล
-สารสำคัญคือ andrographolideฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา-ลดอาการของโรคหวัด โดยลดอาการเจ็บคอ อ่อนเพลียนอนไม่หลับ น้ำ มูกไหล-ลดการอักเสบ เพิ่มภูมิคุ้มกันของร่างกาย-ยับยั้งเชื้อแบคทีเรียบางชนิด ต้านไวรัสหลายชนิด ลดไข้
ข้อบ่งใช้
บรรเทาอาการเจ็บคอ บรรเทาอาการของโรคหวัด เช่น เจ็บคอ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ บรรเทาอาการท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ อาการไม่พึงประสงค์ อาจทำ ให้เกิดความผิดปกติของทางเดินอาหาร เช่น ปวดท้อง ท้องเสีย คลื่นไส้เบื่ออาหาร วิงเวียน ใจสั่นในผู้ป่วยบางรายอาจเกิดอาการแพ้ เช่น ผื่น ลมพิษหน้าบวม หยุดยาและห้ามใช้อีก
ข้อห้ามใช้
หญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร
ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บคอในกรณีดังนี้
-ติดเชื้อ Streptococcus group A
-โรคไตอักเสบ เนื่องจากเคยติดเชื้อ Streptococcus group A
-มีประวัติเป็นโรคหัวใจรูห์มาติก- ติดเชื้อแบคทีเรีย และมีอาการรุนแรง เช่น ไข้สูง ตุ่มหนองในคอ-หากใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน อาจทำ ให้มีแขนขาชาหรืออ่อนแรง
ยาบรรเทาอาการไอ
ตรีผลา
ข้อบ่งใช้
: บรรเทาอาการไอ ชับเสมหะ อาการไม่พึงประสงค์: ท้องเสีย
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
-มะขามป้อม กระตุ้นการหลั่งเมือกในทางเดินหาย ลดการกระตุ้นที่ cough receptor
-สมอพิเภกช่วยให้หลอดลมคลายตัว
-สมอไทยยาระบายอ่อนๆ ต้านอนุมูลอิสระ
ยาแก้ไอผสมมะขามป้อม
ข้อบ่งใช้
: บรรเทาอาการไอ ลดอาการระคายคอ ขับเสมหะข้อควรระวัง: ผู้ป่วยที่ท้องเสียง่าย เนื่องจากมะขามป้อมมีฤทธิ์เป็นยาระบาย การเกิดปฏิกิริยาต่อกันระหว่างสมุนไพรกับยา : Warfarin, aspirin มีโอกาส เลือดออกง่ายและแข็งตัวช้า
ยาประสะมะแว้ง
ข้อบ่งใช้
: บรรเทาอาการไอมีเสมหะ ทำ ให้ชุ่มคอ
-การเกิดปฏิกิริยาต่อกันระหว่างสมุนไพรกับยา : Warfarin, aspirin มีโอกาสเลือดออกง่ายและแข็งตัวช้า
ยารักษากลุ่มอาการของ
ระบบทางเดินอาหาร
ขมิ้นชัน (Tumeric)
สารสำคัญคือ
curcuminoids
และน้ำ มันหอมระเหย
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
-เพิ่มการสร้างและหลั่งน้ำ ดี เพิ่มการบีบตัวของถุงน้ำ ดี ขับลม ย่อยอาหาร ลดการเกร็งในกระเพาะอาหารและลำ ไส้
อาการไม่พึงประสงค์
-ผิวหนังอักเสบจากการแพ้ เช่น ผื่น ลมพิษ บวม คันตามปากและลำ คอข้อห้ามใช้ ห้ามใช้กับผู้ป่วยท่อน้ำ ดีอุดตัน
ข้อควรระวัง
-ระวังการใช้ในหญิงตั้งครรภ์ เด็ก ผู้ป่วยโรคนิ่วในถุงน้ำ ดี
ขิง (Ginger)
สารสำคัญคือ
shogaols และ gingerolsฤทธิ์ทางเภสัชวิทยากระตุ้นการทำ งานและเพิ่มการบีบตัวของกระเพาะอาหารและลำ ไส้, 5-HT3receptor antagonist , muscarinic antagonist
ข้อบ่งใช้/ ขนาดและวิธีใช้
-ท้องอืด ขับลม แน่นจุกเสียด รับประทานวันละ 2-4 กรัม
-ป้องกันและบรรเทาอาการคลื่นไส้ อาเจียนจากการเมารถ
-รับประทานวันละ 1-2 กรัม ก่อนเดินทาง 30 นาที-1 ชม. หรือเมื่อมีอาการ
-ป้องกันอาการคลื่นไส้ อาเจียนหลังการผ่าตัด รับประทานครั้งละ 1 กรัม ก่อนการผ่าตัด 1 ชม.
อาการไม่พึงประสงค์
-แสบร้อนบริเวณทางเดินอาหาร ระคายเคืองบริเวณปากและคอข้อควรระวัง ระวังการใช่ในผู้ป่วยโรคนิ่วในถุงน้ำ ดี
ยาธาตอบเชย
-สูตรตำ รับประกอบด้วย เปลือกอบเชยเทศ และสมุนไพรอื่น เช่น การบูร ลูกกระวาน ดอกกานพลู
ข้อบ่งใช้ขับลม
ท้องอืด ท้องเฟ้อขนาดและวิธีใช้รับประทานครั้งละ 15-30 ml วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร
ข้อควรระวัง
ระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะผู้ป่วยโรคตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมและเกิดพิษของการบูร
ยาป้องกันและบรรเทาอาการคลื่นไส้อาเจียน
ขิง (Ginger)
ฤทธิ์ป้องกันและบรรเทาอาการคลื่นไส้อาเจียน เป็นผลจากขิงมีฤทธิ์ยับยั้ง 5-
HT3 receptors
ยาบรรเทาอาการท้องผูก
มะขามแขก (Alexandrin Senna)
สารสำคัญคือ
anthraquinone glycosides
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
เมื่อรับประทานเข้าสู่ร่างกายจะทำ ปฏิกิริยากับแบคทีเรียในลำไส้ ได้สารที่มีฤทธิ์กระตุ้นระบบประสาท ทำ ให้เพิ่มการเคลื่อนไหวของลำ ไส้และลดการดูดน้ำในลำไส้ ช่วยให้อุจจาระอ่อนนุ่ม
ข้อบ่งใช้
บรรเทาอาการท้องผูกอาการไม่พึงประสงค์ ปวดมวนท้อง ผื่นคัน
ข้อห้ามใช้
ผู้ป่วยที่มีภาวะทางเดินอาหารอุดตัน หรือปวดท้องโดยไม่ทราบสาเหตุ
ข้อควรระวัง
-หญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร เด็กอายุต่ำ กว่า 12 ปี
-ผู้ป่วย inflammatory bowel disease
-ไม่ควรใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน เพราะจะทำ ให้ท้องเสียและการใช้ติดต่อกันเป็น เวลานานจะทำ ให้ลำ ไส้ชินต่อยา ถ้าไม่ใช้ยาจะไม่ถ่าย