Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Metabolism and Body Temperature - Coggle Diagram
Metabolism and Body Temperature
สัญญาณชีพ(Vital signs)
สัญญาณชีพเป็นกลุ่มของอาการแสดงสำคัญท่ีบ่งบอกถึงสถานะของกระบวนการที่ทำให้ร่างกายมีชีวิตอยู่ได้ค่าปกติของสัญญาณชีพของแต่ละบุคคลจะแตกต่างกันไปตามอายุ น้ำหนัก เพศ และสุขภาพโดยรวม
อุณหภูมิกาย (Body temperature)
• อุณหภูมิแกนกลาง(Coretemperature)อุณหภูมิจะอยู่ที่36.5–37.5°C จะมีThermoregulatorysystemเป็นระบบควบคุมอุณหภูมิแกนกลางให้อยู่ในช่วงน้ี
• อุณหภูมิผิว(ShellorSkintemperature)
อุณหภูมิจะอยู่ที่36.6–37.0°C
ปัจจัยที่มีผลต่ออุณหภูมิกาย(Factorsaffectingnormalbodytemperature)
อุณหภูมิร่างกายปกติมีความผันแปรไม่เกิน 1°Cยกเว้นมีไข้หรือออกกำลังกายหนักๆ
การเปลยี่นแปลงช่วงเวลาระหว่างวนัหรือนาฬิกาชีวภาพ (Daily cycle : Circadian rhythm)
ช่วงระยะเวลาของการมมประจำเดือน (Phase of menstrual cycle)
อัตราการเมตาบอลิซึม(Metabolismrate)
ระบบการควบคุมอุณหภูมิของสมอง(Temperature-regulatingcenter)
ปัจจัยที่มีผลต่ออุณหภูมิกาย (Factors affecting normal body temperature)
Progesterone
โปรเจสเตอโรน หรือ Progesterone เป็นฮอร์โมนเพศหญิงที่สร้างจากรังไข่และจากรก (ในขณะต้งั ครรภ์) โดยมีต่อมใต้สมองและสมองไฮโปทาลามัสทาหน้าที่ควบคุมการทางานพื้นฐานของร่างกายรวมท้ังอุณหภูมิร่างกายโดยโปรเจสเตอโรนมีผลทาให้อุณหภูมิร่างกายสูงขนึ้
การผลติความร้อนจากภายในร่างกาย (Internal heat production)
• Shivering thermogenesis (Core temp. ≤ 35.5 °C )
อยู่ในที่เย็นจัด→อาการหนาวสั่นจากการหดตัวเป็นจังหวะถี่ๆของกล้ามเนื้อ
โครงร่าง,อย่นู อกเหนืออานาจจิตใจ→ผลติความร้อน↑
• Brown adipose tissue (จะถูกสลายมาใช้เวลาหนาว จะไม่เกดิ การ Shivering)
❖ Blood vessels
❖ Sympathetic nerves : Norepinephrine (NE), Epinephrine (E) ❖ Mitochondria
• Hormones
❖ฮอร์โมน Catecholamine (NE, E) ถูกนามาใช้เพื่อตอบสนองในระยะส้ัน ❖ฮอร์โมน Thyroxine ถูกนามาใช้เพื่อตอบสนองในระยะยาว 1-3 สัปดาห์
สิ่งแวดล้อมภายนอก (External environment)
Heatlossfrominternalorgans
(การระบายความร้อนจากอวยัวะภายใน)
• Major sit of heat production → Rest of the body
• Core→Skin
❖Conduction การนาความร้อนจากอวัยวะหนึ่งไปยังอวัยวะหนึ่ง
❖Convection การพาความร้อนไปกับเลือด
❑Rate of blood flow; Cold environment → Skin blood flow ↓
❑Temp. difference (Tissue vs Blood supply)
การควบคุมอุณหภูมิร่างกาย (Thermoregulatory system)
Peripheral or Cutaneous thermoreceptors
• Cold thermoreceptors; อุณหภูมิกระตุ้นอยู่ที่12 – 32 °C ผ่านAδ small myelinated fiber
• Warmth thermoreceptors ; อุณหภูมิกระตุ้นอยู่ที่ 30 – 34 °C ผ่าน C unmyelinated fiber
Central or Core thermoreceptors
• Cold-sensitiveneurons;อุณหภูมิโดยรอบที่เย็น
• Heat-sensitiveneurons;อุณหภูมิโดยรอบที่ร้อน
Deep body temp. receptor
Spinal cord, Abdominal viscera, Around the Great vein
Expose to the body core temp.
ความผิดปกติของการควบคุมอุณหภูมิร่างกาย (Abnormalities of body temperature regulation)
อุณหภูมิกายสูง(Hyperthermia)อุณหภูมิกายอยู่มากกว่า37.5°C
• Heat syncope (ลมแดด)
พบในคนที่ยืนนนิ่งๆนานๆกลางแดด → Venous return ↓
• Heat exhaustion (การอ่อนเพลียจากความร้อนจากการสูญเสียน้ำจานวนมาก)
พบในคนทที่อยู่ในที่ร้อน,ออกกาลังกายรุนแรงหรือนานในที่อากาศร้อนชื้น
เหงื่อออกจานวนมาก → ร่างกายขาดน้ำ,ความดันโลหิตต่า, หัวใจเต้นเร็วขึ้น
•Heatstroke(อณุ หภูมิกายสูงมากกว่า40.5°C)
จนทกให้ระบบประสาทเสียหาย เช่น ในคนที่ได้รับยาขับปัสสาวะ เป็นต้น
อาการ: อาเจียน,ปวดหัว,สับสน,กระสับกระส่าย,หมดสติ, ช็อค
• Fever หรือ Pyrexia (ไข้)
Risingphaseระยะเริ่มไข้ขึ้น (หนาวสั่น,ผวิซีด,เส้นเลือดที่ผิวหนังหดตัว)
Plateau phase ระยะไข้ทรง (ไข้สูง, หน้าแดง, ตัวแดง, ไม่มีเหงื่อ)
Defervescence ระยะสร่างไข้ (เหงื่อออก)
อุณหภูมิกายต่ำ(Hypothermia)อุณหภูมิกายอยู่ต่ำกว่า35°C
• Mild(32-35°C)
Shivering, Cutaneous vasoconstriction
• Moderate (28 - 32 °C )
Shivering↓, Metabolism↓, ความดัน↓, การเต้นของหัวใจ↓, หารหายใจ↓,
ไม่มีสติ(Unconscious)
• Severe (< 28 °C ) หัวใจหยุดเต้น, เซลล์ตาย