Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การล้างไตทางหน้าท้องอย่างถาวร Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis…
การล้างไตทางหน้าท้องอย่างถาวร
Continuous Ambulatory
Peritoneal Dialysis (C.A.P.D.)
ข้อบ่งชี้กาารักษาผู้ป่วยไตวายเรื้อรังด้วยวิธีการล้างช่องท้องอย่างถาวร
เป็นโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
• 2. เยื่อบุช่องท้องปกติไม่มีพังผืดติดยึดและไม่มีช่องติดต่อระหว่างช่องท้องกับทรวงอก
• 3. ผนังช่องท้องแข็งแรง ไม่มีใส้เลื่อน (ถ้ามีใส้เลื่อน ต้องผ่าตัดแก้ไขก่อน)
• 4. ร่างกายแข็งแรง พอที่จะรับการผ่าตัดฝังท่อถาวรทางหน้าท้องได้
• 5. สามารถทำเองได้หรือมีญาติใกล้ชิดอย่างน้อย 1 คนให้ความช่วยเหลือเมื่อผู้ป่วยมีปัญหาทางสุขภาพไม่สามารถทำ CAPD ได้
• 6. ไม่มีปัญหาทางเศรษฐกิจ
• 7. ผู้ป่วยและญาติต้องยอมรับวิธีการของ CAPD และให้ความร่วมมือดี
• 8. ผู้ป่วยที่มีปัญหาในการรักษาด้วยการฟอกเลือด
ข้อห้ามในการทำการล้างช่องท้องอย่างต่อเนื่อง
1.มีภาวะที่ขัดขวางการไหลของน้ำยาล้างไต เช่น เคยได้รับการผ่าตัดช่องท้องและเกิดผังผืดภายในช่องท้อง
• 2.ผู้ป่วยที่มีIleostomy,Nephrostomy,Ileal conduit ภาวะเหล่านี้อาจมีความเสี่ยงของการเกิดการติดเชื้อในช่องท้อง
• 3. ผู้ป่ วยที่มีภาวะปวดเรื ้อรัง Degenerative disc disease อาจมีอาการแย่ลงเมื่อ
เริ่มใส่น ้ายาล้างไตเข้าช่องท้อง
• 4.มีการติดเชื ้อที่ผิวหนังทางหน้าท้อง
• 5.น ้าหนักตัวในผู้ป่ วยที่มีน ้าหนักตัวมากกว่า 100 กิโลกรัม มักไม่สามารถล้างไตทางหน้า
ท้องได้เพียงพอ โดยเฉพาะเมื่อไม่มีการท างานของไตเหลือ(Residual renal
function)
• 6. ผู้ป่ วยมีความผิดปกติของล าไส้
• 7. ในผู้ป่ วยที่มี abdominal prosthesis ควรรออย่างน้อง 6 สัปดาห์ ก่อนการเริ่มล้างช่องท้อง