Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ - Coggle Diagram
การเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์
ส่วนประกอบและหลักการเขียนรายงาน ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก
ส่วนประกอบตอนต้น
1.1 ปกรายงาน
ปกนอกและปกใน
ชื่อหัวข้อรายงาน
ชื่อคณะผู้ทารายงาน
ชื่ออาจารย์ประจากลุ่มการเรียน
รหัสวิชาและชื่อวิชา
กลุ่มการเรียน (Section) ที่ลงทะเบียนเรียน
ชื่อหัวข้อรายงานให้ใช้คากะทัดรัด ชัดเจน ไม่คลุมเครือ
1.2 คำนำ
กล่าวถึง วัตถุประสงค์ของรายงาน ขอบเขตเนื้อหาของรายงานโดยย่อ และหวังว่าจะเป็นประโยชน์ให้กับผู้อ่านอย่างไร รวมทั้งกล่าวขอบคุณผู้ให้ความช่วยเหลือ
1.3 สารบัญ
สารบัญเนื้อหา
สารบัญตาราง
สารบัญภาพ
เขียนแยกหน้ากัน ระบุเลขหน้าให้ถูกต้อง
ส่วนเน้ือเรื่อง
2.1 บทนำ
หลักการและเหตุผล
บอกว่ารายงานนี้มีความเป็นมาหรือภูมิหลังอย่างไร ความสาคัญอย่างไร แนวคิดหรือทฤษฎีรองรับ
วัตถุประสงค์ของรายงาน
เป็นเป้าหมายในการศึกษาค้นคว้า โดยสัมพันธ์กับชื่อเรื่อง และวิธีการดาเนินรายงาน เขียนเป็นข้อ ๆ คนละแง่มุม ไม่ซ้ากัน
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของรายงาน เป็นข้อ ๆ ตามแง่มุม
2.2 เนื้อหาของ รายงาน ประกอบด้วย หัวข้อหลัก หัวข้อรอง และ หัวข้อย่อย
ประวัติและความเป็นมา
1.1 ผู้นา เขียนชีวประวัติโดยละเอียด
1.2 องค์กร เขียนประวัติและความเป็นมาตั้งแต่เริ่มก่อตั้งองค์กรจนถึงปัจจุบัน และ
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับองค์กร
2 . แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
เป็นแนวคิดและทฤษฎีพื้นฐานเพื่อให้ผู้ทารายงานเข้าใจในรายงานและเอื้อต่อขั้นตอนใน การเขียนรายงานต่าง ๆ
แสดงข้อมูลทางวิชาการที่ตรงกับวัตถุประสงค์ของรายงาน
เรียบเรียงเนื้อหาจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ให้เป็นประเด็นหรือหัวข้อต่าง ๆ อย่างเป็น ระบบ
มีการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลอย่างถูกต้องครบทุกข้อมูล (APA Style) มีสาระครบสมบูรณ์ในส่วนที่เกี่ยวกับสิ่งที่ศึกษา
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นการค้นคว้า ศึกษา ประมวลผลและเรียบเรียง เนื้อหาของเอกสารและงานวิจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ผู้จัดทารายงานต้องการศึกษา เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ในเรื่องนั้นมากขึ้น
ผลการศึกษาวิเคราะห์ เป็นการประยุกต์ใช้ความรู้ที่เรียนจากภาคทฤษฎีและ แหล่งข้อมูลต่าง ๆ มาคิดวิเคราะห์ ขยายความ เปรียบเทียบ และแก้ปัญหา รวมทั้งแสดง ความคิดเห็นอย่างเป็นระบบลึกซึ้งและชัดเจนครอบคลุมสิ่งที่ต้องการศึกษาเรียนรู้ มีหัวข้อดังต่อไปนี้
4.1 ภาวะผู้นำ
4.2 การทำงานเป็นทีม
4.3 การจัดการองค์กร
4.4 การจัดการตนเอง
4.5 การจัดการการเปลี่ยนแปลง
4.6 การจัดการความขัดแย้ง
4.7 การจัดการภาวะวิกฤต
4.8 การจัดการเชิงกลยุทธ์
อภิปรายผลการศึกษา
เป็นการนาแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง หรือเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง มาใช้ใน การอภิปราย เพื่อเปรียบเทียบกับผลการศึกษาวิเคราะห์ ว่า สอดคล้อง และ/หรือ ไม่ ผลการศึกษาได้แสดงให้เห็นหรือชี้ให้เห็นอะไรบ้าง
สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ
6.1 สรุปผลการศึกษา
6.2 ข้อเสนอแนะ
ส่วนประกอบตอนท้าย
3.1 เอกสารอ้างอิง
3.2 ภาคผนวก
รูปแบบการจัดพิมพ์เล่มรายงานรายงานฉบับสมบูรณ์
2.2 การเว้นขอบกระดาษ (Margins): เว้นที่ว่างจากริมขอบกระดาษ ขอบบนและขอบด้านซ้าย 1.5 นิ้ว ขอบล่างและขอบด้านขวา 1 นิ้ว
2.3 การเว้นระยะห่างระหว่างบรรทัด (Line spacing):
กาหนดระยะห่างระหว่างบรรทัดเป็นแบบระยะพิมพ์เดี่ยว (Single space) ตลอดเล่มรายงาน
ระยะห่างระหว่างชื่อบทกับหัวข้อแรกหรือบรรทัดแรกของเนื้อเรื่อง ให้เว้นว่าง 2 บรรทัด
เมื่อขึ้นหัวข้อใหม่ ระยะห่างระหว่างบรรทัดสุดท้ายของหัวข้อเดิมกับบรรทัดแรกของหัวข้อใหม่
ให้เว้นว่าง 1 บรรทัด
2.4 การจัดตาแหน่งข้อความในหน้ากระดาษ (Alignment):
การพิมพ์รายละเอียดในส่วนเนื้อเรื่อง โดยทั่วไปควรจัดตาแหน่งข้อความในหน้ากระดาษเป็นแบบ ชิดขอบ (Justified) เพื่อความสวยงาม
2.5 การใส่เลขหน้าและการลาดับหน้า (Paging):
ส่วนต้น ให้ใส่พยัญชนะ ก, ข, ค, ... เรียงตามลาดับ โดยเริ่มตั้งแต่หน้าแรกของคำนำ ไปจนจบหน้า สุดท้ายของสารบัญ การพิมพ์เลขหน้าให้พิมพ์ไว้ที่มุมบนด้านขวาของหน้ากระดาษ ห่างจากขอบบน 0.5 นิ้ว และขอบขวา 1 นิ้ว
ส่วนเนื้อเรื่อง ส่วนอ้างอิง และส่วนเพิ่มเติม (ภาคผนวก) ให้ใส่ตัวเลขอารบิก 1, 2, 3, ... ตามลาดับ โดยเริ่มตั้งแต่หน้าแรกของบทที่ 1 หรือบทนา การพิมพ์เลขหน้าให้พิมพ์ไว้ที่มุมบนด้านขวาของ หน้ากระดาษ ห่างจากขอบบน 0.5 นิ้ว และขอบขวา 1 นิ้ว
ห้ามกาหนดเลขหน้าเป็นแบบหน้าย่อยหรือหน้าแทรก เช่น หน้า 2.1, 2.2, ... หรือหน้า 2(1), 2(2), หรือหน้า 2ก, 2ข โดยเด็ดขาด
2.6 การจัดทาสารบัญเนื้อหา (Table of contents):
เป็นส่วนที่ให้ข้อมูลรายการส่วนต่าง ๆ ที่ปรากฏในเล่มรายงาน พร้อมทั้งบอกเลขหน้าที่ปรากฏ โดย เร่ิมตั้งแต่คำนำไปจนถึงภาคผนวก ในส่วนเนื้อเรื่องควรใส่บทที่ ชื่อบท และหัวข้อใหญ่
ชื่อหัวข้อที่ปรากฏในสารบัญต้องมีข้อความท่ีตรงกับท่ีปรากฏในเนื้อเรื่อง
2.7 การจัดทาสารบัญตาราง (List of tables):
เป็นส่วนที่บอกถึงรายการตารางทั้งหมด (ถ้ามี) ที่ปรากฏในเล่มรายงาน
ชื่อของตารางที่ปรากฏในสารบัญตารางต้องตรงกับที่ปรากฏในเน้ือเรื่อง
การจัดทำสารบัญตาราง หากมีเพียงตารางเดียว ไม่จำเป็นต้องจัดทำสารบัญตารางก็ได้
2.8 การจัดทาสารบัญรูปภาพ (List of figures):
เป็นส่วนท่ีบอกถึงรายการภาพ (รูปภาพ แผนภูมิ แผนที่ กราฟ ฯลฯ) ทั้งหมด
ชื่อหรือคำอธิบายภาพที่ปรากฏในสารบัญภาพต้องตรงกับที่ปรากฏในเนื้อเรื่อง
การจัดทำสารบัญภาพ หากมีเพียงภาพเดียว ไม่จาเป็นต้องจัดทาสารบัญภาพก็ได้
2.9 การพิมพ์หัวข้อในบท (Headings):
แบ่งออกเป็นหัวข้อใหญ่ (Main headings) และหัวข้อย่อย (Sub-headings) ตามลาดับ
การพิมพ์หัวข้อใหญ่ภาษาอังกฤษ ให้พิมพ์อักษรตัวแรกของคำแรกและคาสาคัญทุกคำด้วยตัวพิมพ์ ใหญ่เสมอ
หัวข้อที่ยาวเกิน 1 บรรทัด ให้แบ่งพิมพ์เป็น 2-3 บรรทัด ตามความเหมาะสม ไม่พิมพ์แยกคำ เช่น “ขอนแก่น” ไม่ให้พิมพ์แยกเป็น “ขอน-แก่น” หรือ “ขอน แก่น” เป็นต้น
เมื่อจะขึ้นหัวข้อใหม่ในส่วนท้ายกระดาษของหน้า แต่มีที่ว่างสาหรับพิมพ์ข้อความภายใต้หัวข้อนั้น ได้อีกไม่เกิน 1 บรรทัด ให้ขึ้นหัวข้อใหม่ในหน้าถัดไป
การแบ่งหัวข้อใหญ่และหัวข้อย่อยในแต่ละบท ให้ใช้ตัวเลข และ/หรือ ตัวอักษร กากับหัวข้ออย่าง ชัดเจน
ไม่ใช้สัญลักษณ์ เช่น ★☺ฯลฯ แสดงหัวข้อย่อย
การพิมพ์หัวข้อใหญ่ ให้พิมพ์ชิดริมด้านซ้ายของกระดาษ
การพิมพ์หัวข้อย่อย ให้พิมพ์โดยการย่อหน้าเว้นช่วงระยะ 6 ตัวอักษร
2.10 การพิมพ์ตาราง (Tables):
ตาราง 1 ตาราง ประกอบด้วยลาดับที่และช่ือของตารางอยู่ส่วนบน ตามด้วยตัวตาราง และมีการ อ้างอิงที่มาของตาราง
ให้พิมพ์ตารางโดยใช้ภาษาไทย
ให้พิมพ์ตารางแทรกไว้ตามส่วนเน้ือหาท่ีระบุถึงตารางนั้น ๆ สาหรับตารางที่มีความจาเป็นน้อย หรือไม่มีความสัมพันธ์ต่อการอธิบายเนื้อหาโดยตรง
การพิมพ์ลาดับที่และชื่อของตารางให้พิมพ์ไว้เหนือตารางนั้น ๆ โดยพิมพ์คาว่า “ตารางที่...” ชิดขอบซ้ายของหน้ากระดาษ หรือให้ตรงกับขอบซ้ายของตัวตาราง แล้วระบุลาดับที่ของตารางโดย ใช้เลขอารบิก เช่น ตารางที่ 1 และกาหนดรูปแบบของตัวอักษรเป็นแบบตัวหนา
การพิมพ์ตัวตาราง โดยทั่วไปประกอบด้วยส่วนหัวของตาราง (Table header) และส่วนข้อความ ในตาราง (Table text) ให้จัดวางตารางชิดขอบซ้าย
ตารางที่มีความยาวมาก ไม่สามารถพิมพ์ให้สิ้นสุดในหน้าเดียวได้ ให้พิมพ์ส่วนที่เหลือในหน้าถัดไป ทั้งนี้ต้องมีลาดับที่และชื่อตารางทุกหน้า และพิมพ์คาว่า “(ต่อ)”
ตารางที่มีความกว้างเกินกว่าที่จะบรรจุในหน้ากระดาษเดียวได้ อาจย่อส่วนลงได้แต่ให้มีขนาดที่ สามารถอ่านได้ชัดเจน
การพิมพ์อ้างอิงแหล่งที่มาของตาราง ให้ใช้ระบบ APA Style โดยพิมพ์ไว้ท้ายสุดในบรรทัดถัดจาก ตัวตาราง
การพิมพ์หมายเหตุหรือคาอธิบายตารางเพิ่มเติม ให้พิมพ์ในบรรทัดถัดจากตัวตาราง หรือถัดจาก บรรทัดอ้างอิง (ถ้ามี)
กรณีที่ต้องการพิมพ์ตารางตามแนวขวางของกระดาษ ให้จัดวางส่วนบนของตารางหันเข้าหาขอบ ซ้ายของกระดาษ และวางขอบซ้ายของตัวตารางให้ชิดขอบล่างของหน้ากระดาษ
2.11 การพิมพ์ภาพ (Figures):
ภาพ 1 ภาพ ประกอบด้วย ตัวภาพ ภาพที่ ชื่อภาพ และการอ้างอิงที่มาของภาพกรณีเป็นภาพที่ คัดลอกมา
ให้จัดวางภาพแทรกไว้ตามส่วนเนื้อหาที่ระบุถึงภาพนั้น ๆ ยกเว้นภาพที่มีความจาเป็นน้อย หรือไม่ มีความสัมพันธ์ต่อการอธิบายเนื้อหาโดยตรง ให้รวมไว้ในภาคผนวก
การพิมพ์ชื่อภาพหรือคาอธิบายภาพให้พิมพ์ไว้ใต้ภาพนั้น ๆ โดยพิมพ์คาว่า “ภาพที่...” ในตาแหน่ง ที่เหมาะสม แล้วระบุลาดับที่ของภาพโดยใช้เลขอารบิก เช่น ภาพที่ 1 และกาหนดรูปแบบของ ตัวอักษรเป็นแบบตัวหนา
กรณีภาพต่อเนื่องหรือภาพที่ไม่สามารถจัดพิมพ์ให้สิ้นสุดในหน้าเดียวได้ ให้พิมพ์ส่วนที่เหลือในหน้า
ถัดไป ทั้งนี้จะต้องมีลาดับที่และชื่อภาพทุกหน้า และพิมพ์คาว่า “(ต่อ)”
2.12 การพิมพ์คำภาษาต่างประเทศ (Foreign words):
เล่มรายงานซึ่งพิมพ์เป็นภาษาไทย ไม่ควรพิมพ์คาภาษาต่างประเทศเป็นส่วนหนึ่งของเนื้อหา โดยที่ ไม่ใช้คำนั้นที่มีอยู่แล้วในภาษาไทย เช่น “คอมพิวเตอร์”
กรณีคาภาษาต่างประเทศนั้น ๆ ยังไม่มีคาที่ใช้ในภาษาไทย ควรเขียนเป็นภาษาไทยในลักษณะทับ ศัพท์ตามหลักการเทียบพยัญชนะและสระที่กาหนดโดยราชบัณฑิตยสถาน เช่น “เวบไซต์”
การพิมพ์คำทับศัพท์ที่กล่าวมาแล้วนั้นอาจวงเล็บคาภาษาต่างประเทศกากับไว้ เช่น “เวบไซต์ (Web site)” หรือ “แอริโซนา (Arizona)” เป็นต้น
การพิมพ์คาในวงเล็บควรใช้ตัวอักษรให้เป็นรูปแบบเดียวกันตลอดเล่มรายงาน
พิมพ์ด้วยตัวเล็กทั้งหมด ยกเว้นชื่อเฉพาะ
พิมพ์ตัวใหญ่เฉพาะอักษรตัวแรกของคาแรก
พิมพ์อักษรตัวแรกของทุกคาด้วยตัวใหญ่
2.1 ตัวพิมพ์ (Fonts):
ใช้ตัวพิมพ์ประเภทเดียวกันตลอดทั้งเล่มรายงาน
ส่วนเนื้อเรื่องและรายละเอียดต่าง ๆ ทั่วไปภายในเล่มให้ใช้ตัวพิมพ์ธรรมดาขนาด 16 พอยต
หัวข้อ 18 ตัวหนา