Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 5 องค์กรพัฒนาในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร - Coggle…
หน่วยที่ 5 องค์กรพัฒนาในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิด
ความหมายและความสำคัญ
องค์กรพัฒนาในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร หมายถึงกลุ่มบุคคลที่ร่วมมือกันทำงานอย่างเป็นระบบ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ประเภทและบทบาท
ประเภทขององค์กรพัฒนา 5 ประเภท
1.องค์กรพัฒนาของรัฐ
2.องค์กรนอกภาครัฐ
3.องค์กรชุมชนหรือองค์กรประชาชน
4.องค์กรภาคเอกชน
5.องค์กรอื่นๆ
บทบาทขององค์กรพัฒนา อธิบายเชิงวิชาการด้วย 4 ทฤษฎี คือ
1.ทฤษฎีสวัสดิการ
2.ทฤษฎีความหลากหลาย
3.ผู้ประกอบการเพื่อสังคม
4.ทฤษฎีประชาสังคม
ผลกระทบ
1.การเรียนรู้ของบุคคลเป้าหมาย 2.การมีส่วนร่วม
3.การพึ่งตนเอง
4.การสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน
5.การพัฒนานโยบายการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
องค์กรพัฒนากับกระบวนทัศน์
ความหมายและความสำคัญ
กระบวนทัศน์เป็นกรอบแนวคิด แนวทาง ทฤษฎี อันนำไปสู่การกำหนด วิธีคิด วิธีปฏิบัติและการให้คุณค่าสิ่งต่างๆ
กระบวนทัศน์ที่เหมาะสม
กระบวนทัศน์หนึ่งที่เหมาะสมในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรในปัจจุบันเน้นหลักแนวคิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนที่เป็นกรอบแนวคิดการพัฒนาไว้หลายๆ แนวคิด
กระบวนทัศน์กับกลยุทธ์และกลไก
กลไกในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่เหมาะสมนั้น ต้องมีการเชื่อมโยงกันทุกระดับ ตั้งแต่ระดับประเทศถึงท้องถิ่นจะช่วยให้การดำเนินงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรมีความสำเร็จได้
การเสริมสร้างประสิทธิภาพ
การเสริมสร้างความเข้มแข็ง
การเสริมสร้างความเข้มแข็งขององค์กรพัฒนาในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรต้องคำนึงถึงปัจจัยต่างๆ ที่จะทำให้สำเร็จ แล้วดำเนินการเสริมสร้างตามกระบวนการ 4 ขั้นตอน คือ การวินิจฉัยสถานการณ์ การแสวงหาเทคนิควิธีการเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็ง การบริหารองค์กรพัฒนา และการติดตามและประเมินผล
หลักการและขั้นตอน
1.กำหนดแม่แบบ
2.วิเคราะห์ปัญหาและความจำเป็น
3.สำรวจข้อมูลที่เกี่ยวข้องยืนยันผลที่ได้
4.กำหนดกลยุทธ์ในการเสริมสร้างประสิทธิภาพ 5.กำหนดแผนปฏิบัติการ
6.ปฏิบัติตามแผน
7.ประเมินผลและรายงาน
วิธีการและเงื่อนไขความสำเร็จ
การเสริมสร้างประสิทธิภาพองค์กรจะสำเร็จได้เป็นอย่างดีจึงต้องมีการพิจารณาเงื่อนไขเกี่ยวกับความรู้ความสามารถและความตั้งใจจริงของฝ่ายบริหาร ความพร้อมและความตั้งใจจริงของฝ่ายปฏิบัติ การสนับสนุนเอื้ออำนวยขององค์กร ความเหมาะสมสอดคล้องกับปัจจัยที่เกี่ยวข้อง การใช้เทคนิคและวิธีการดำเนินการอย่างเหมาะสม การดำเนินการอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง การมีระบบข้อมูลที่เป็นประโยชน์และการมีระบบที่ปรึกษาสนับสนุน