Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิเคราะห์ปรัชญาการศึกษาไทย และเอกสารสำคัญที่เกี่ยวกับการศึกษา - Coggle…
วิเคราะห์ปรัชญาการศึกษาไทย และเอกสารสำคัญที่เกี่ยวกับการศึกษา
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
มาตรา 54 รัฐต้องดำเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลา 12 ปี
ตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
สารัตถนิยม
มาตรา 50 บุคคลมีหน้าเข้ารับการศึกษาอบรมในการศึกษาภาคบังคับ
สารัตถนิยม
มาตรา 258 การปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา
เด็กเล็กได้รับการพัฒนาร่างกายจิตใจวินัยยอารมณ์สังคมและสติปัญญาให้สมกับวัยโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
สารัตถนิยม
ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนทุกระดับเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามความถนัด
อัตถิภาวะนิยม
ให้มีกลไกและระบบการผลิตคัดกรองและพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพครูและอาจารย์ให้ได้ผู้มีจิตวิญญาณของความเป็นครู มีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริง
สารัตถนิยม
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที 12
(พ.ศ.2560 - 2564)
ยุทธศาสตร์ที่1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์
• ปรับเปลี่ยนค่านิยมคนไทยให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย
จิตสาธารณะ และพฤติกรรมที่พึงประสงค์
พุทธปรัชญา
• พัฒนาศักยภาพคนให้มีทักษะ ความรู้ และความสามารถ
ในการดำ รงชีวิตอย่างมีคุณค่า
อัตถิภาวะนิยม
• ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต
อัตถิภาวะนิยม
ยุทธศาสตร์ที่2 การสร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้ำ ในสังคม
• กระจายการให้บริการภาครัฐด้านการศึกษา
ปฏิรูปนิยม
พระราชบัญญัติการศึกษาไทย 2542 และฉบับปรับปรุงแก้ไข (ฉบับที่ 2 - 4)
มาตรา 6 การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
นิรัตรนิยม
มาตรา 7 ในกระบวนการเรียนรู้ต้องมุ่งปลูกฝังจิตสำนึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
พิพัฒนนิยม
มาตรา 8 การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
ปฏิรูปนิยม
มาตรา 15 การจัดการศึกษามีสามรูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
อัตถิภาวะนิยม
มาตรา 16 การศึกษาในระบบมีสองระดับ คือ การศึกษาขั้นพื้นฐาน และการศึกษาระดับอุดมศึกษา
อัตถิภาวะนิยม
มาตรา 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด
อัตถิภาวะนิยม
มาตรา 24 การจัดกระบวนการเรียนรู้
จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน
อัตถิภาวะนิยม
จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง
พิพัฒนนิยม
จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
พุทธปรัชญา
มาตรา 26 สถานศึกษาประเมินผู้เรียนโดยพิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน และการทดสอบ
ปฏิรูปนิยม
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580)
ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
• การปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม
การบูรณาการเรื่องความซื่อสัตย์ วินัย คุณธรรม
จริยธรรม ในการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา
พุทธปรัชญา
• การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต
ปฏิรูปนิยม
• ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนอง
ต่อการเปลี่ยนแปลงใน ศตวรรษที่ ๒๑
ปฏิรูปนิยม
• การตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลาย
อัตถิภาวะนิยม
ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาค
และเท่าเทียมกันทางสังคม
สร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงสาธารณะสุข
และการศึกษา
ปฏิรูปนิยม
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579
ยุทธศาสตร์ที่1 การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ
ปฏิรูปนิยม
ยุทธศาสตร์ที่2 การผลิตและการพัฒนากำลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
ปฏิรูปนิยม
ยุทธศาสตร์ที่3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
ปฏิรูปนิยม
ยุทธศาสตร์ที่4 การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา
พิพัฒนนิยม
ยุทธศาสตร์ที่5 การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริม
คุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
พิพัฒนนิยม
ยุทธศาสตร์ที่6 การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา
ปฏิรูปนิยม