Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
The Roy Adaptation Model, นางสาวธิดารัตน์ โมลา รหัสนักศึกษา 63102301040…
The Roy Adaptation Model
ประวัติผู้สร้างรูปแบบการปรับตัวของรอย
เกิด 14 ตุลาคม 1939 ที่เมือง Los Angeles
พยาบาลประจำแผนกเด็ก นักวิจัย และอาจารย์มีความเชี่ยวชาญเรื่องทฤษฎีการพยาบาล
ซีสเตอร์ แคลลีสตา รอย (Sister Callista Roy)
จบปริญญาโทสาขาวิชาการพยาบาลเด็ก
จบปริญญาโท-เอกสาขา Sociology
Adaptation
กระบวนการและผลลัพธ์ของความคิดและความรู้สึกของบุคคลหรือหลายกลุ่มคน
โดยใช้ความตระหนักรู้และเลือกที่จะสร้างการอยู่รวมกันของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม
การปรับตัวน าไปสู่การมีสุขภาพดี มีคุณภาพชีวิต และตายอย่างมีศักดิ์ศรี
ข้อตกลงเบื้องต้น (Assumptions)
ข้อตกลงเบื้องต้นด้านวิทยาศาสตร์ (Scientific assumption):
การตัดสินใจของมนุษย์เป็นความรับผิดชอบในการปรับตัว
ความตระหนักในตนเองและสิ่งแวดล้อม
การรู้สติ
ความคิดและความรู้สึกเป็นสื่อในการกระทำของมนุษย์
การปฏิรูปบุคคลและสิ่งแวดล้อมสร้างได้ด้วยสติสัมปชัญญะของมนุษย์
ผลลัพธ์ของการปรับตัวหมายถึงการปรับตัวของมนุษย์ให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม
ข้อตกลงเบื้องต้นด้านวัฒนธรรม (Cultural assumptions)
ประสบการณ์ในวัฒนธรรมที่เฉพาะของสังคมนั้นมีอิทธิพลต่อรูปแบบการปรับตัว
ข้อตกลงเบื้องต้นด้านปรัชญา (Philosophy assumption)
การสร้างความตระหนัก การเกิดปัญญาหรือความรู้แจ้ง และความศรัทธา
มโนทัศน์หลักของรูปแบบการปรับตัวของรอย
สิ่งแวดล้อม (Environment)
ความหมาย
สภาพการณ์หรือสิ่งที่อยู่รอบๆ ที่มีความสัมพันธ์กับบุคคลและส่งผลต่อการพัฒนาและปรับพฤติกรรมของปัจเจกบุคคล
สิ่งเร้าร่วม (Contextual stimuli)
สิ่งอื่นๆทั้งหมดซึ่งก่อให้เกิดผลเสริมกับผลของสิ่งเร้าตรง
เป็นปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการปรับตัวของมนุษย์ทั้งภายในและภายนอก
สิ่งเร้าตรง (Focal stimuli)
สิ่งกระตุ้นทั้งภายในและภายนอก
ส่งผลทันทีต่อระบบการปรับตัวของบุคคล
เช่น โรคตับแข็ง โรคมะเร็ง โรคไตวายเรื้อรัง
สิ่งเร้าแฝง (Residual stimuli)
สิ่งที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการปรับตัวในสถานการณ์ขณะนั้น
การส่งผลกระทบไม่ชัดเจนและไม่สามารถสังเกตเห็นสิ่งเร้าแฝงนั้นได้
บุคคล (Person)
ความหมาย
ระบบของการปรับตัวของบุคคลที่ได้รับสิ่งเร้าที่กระตุ้น
ให้บุคคลเกิดกระบวนการเผชิญปัญหา
กลไกการควบคุม (Regulator subsystem)
กระบวนการเผชิญที่มีการตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นอย่างอัตโนมัติ
กลไกการรู้คิด (Cognator subsystem)
กระบวนการเผชิญที่มีการตอบสนองผ่านช่องทางของอารมณ์และการรู้คิดของบุคคล
สุขภาพ (Health)
สภาวะและกระบวนการดำรงชีวิตที่อยู่รวมกันของบุคคลและสิ่งแวดล้อมทั้งหมดได้อย่างสมบูรณ์
การพยาบาล (Nursing)
การดูแลทุกระยะของมนุษย์ตามหลักวิทยาศาสตร์โดยผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาล
ด้วยวิธีการส่งเสริมสุขภาพและศักยภาพในการดำรงชีวิตของบุคคล ครอบครัว กลุ่มคนและสังคมทั่วๆไป
รูปแบบการปรับตัว (Mode of adaptation)
การปรับตัวด้านร่างกาย (Physiologic- physical mode)
การปรับตัวด้านร่างกายในหมวดชีวภาพของบุคคล (Physiologic mode)
รูปแบบการปรับตัวหมวดกายภาพ (Physical mode)
การปรับตัวด้านอัตมโนทัศน์ (Self-concept mode)
เป็นความรู้สึกและความเชื่อเกี่ยวกับตนเองด้านภาพลักษณ์
เป็นความรู้สึกและความเชื่อเกี่ยวกับตนเองด้านความคิด
เป็นความรู้สึกและความเชื่อเกี่ยวกับตนเองด้านบุคลิกภาพ
เป็นความรู้สึกและความเชื่อเกี่ยวกับตนเองด้านจิตวิญญาณ
เป็นความรู้สึกและความเชื่อเกี่ยวกับตนเองด้านความเชื่อรวมถึงศาสนา
การปรับตัวด้านบทบาทหน้าที่ (The role function mode)
บทบาททุติยภูมิ (Secondary role) เป็นบทบาทเกี่ยวข้องกับงานที่ต้องกระทำ รับเข้ามาและทำให้เกิดงานขึ้น
บทบาทปฐมภูมิ (Primary role) เป็นตัวก าหนดพฤติกรรมส่วนใหญ่ของบุคคลในช่วงเวลาต่างๆของชีวิต
บทบาทตติยภูมิ (Tertiary role) เป็นบทบาทชั่วคราวที่เกิดขึ้นในบางช่วงของชีวิตที่บุคคลเลือกหรือต้องทำหน้าที่ตามบทบาทนั้น
การปรับตัวด้านการพึ่งพาอาศัย (Interdependence mode)
ให้ความสำคัญกับการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
เพื่อให้มีมุมมองด้านความรัก การให้ และการมีคุณค่า เป็นการพึ่งพาระหว่างกัน
ระดับการปรับตัว (Adaptation level)
ขั้นบกพร่อง/อันตราย (Compromised level)
กระบวนการชดเชยทำงานไม่เพียงพอที่จะจัดการกับสิ่งเร้า
ทำให้เกิดปัญหาในการปรับตัว มีความเจ็บป่วยหรือเกิดโรค
ขั้นต้องการชดเชย (Compensatory level)
กระบวนการชีวิตปกติถูกรบกวนจากสิ่งเร้าภายนอกทำให้ต้องการการชดเชย
ขั้นปกติ (Integrated level)
การทำหน้าที่ของร่างกายเพื่อตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐาน
เพื่อให้ชีวิตดำเนินไปตามปกติ
การประยุกต์ใช้รูปแบบการปรับตัวของรอย
ขั้นที่ 6. การประเมินผล (Evaluation)
การประเมินผลภายหลังจากที่พยาบาลปฏิบัติการพยาบาลแล้ว
ประเมินพฤติกรรมการปรับตัวของบุคคล ตามเป้าหมายการปรับตัวที่ตั้งไว้
ขั้นที่ 5. การบำบัดทางการพยาบาล (Implement intervention)
เน้นทั้งสิ่งเร้าและกระบวนการเผชิญ
วางแผนกำหนดกิจกรรมในการส่งเสริมการปรับตัวด้วยการจัดการสิ่งเร้า
ขั้นที่ 3. การกำหนดข้อวินิจฉัยการพยาบาล (Nursing diagnosis)
กระบวนการตัดสินใจกำหนดข้อความที่สื่อถึงสถานะการปรับตัวของบุคคล
ขั้นที่2. การประเมินสิ่งเร้า (Assessment of stimuli)
ประเมินสิ่งเร้าที่ท าให้เกิดพฤติกรรรมนั้นๆ
ขั้นที่ 4. การกำหนดเป้าหมายการส่งเสริมการปรับตัว(Goals Setting: to promote adaptation)
เป็นข้อความที่แสดงถึงผลลัพธ์ที่เป็นพฤติกรรมของการปรับตัวที่ต้องการให้เกิดขึ้นในทางบวก
ขั้นที่ 1. การประเมินพฤติกรรมการปรับตัว (Assessment of behavior)
การปรับตัวด้านร่างกาย
การปรับตัวด้านอัตมโนทัศน์
การปรับตัวด้านบทบาทหน้าที่
การปรับตัวด้านการพึ่งพาอาศัย
นางสาวธิดารัตน์ โมลา
รหัสนักศึกษา 63102301040 เลขที่ 41