Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลรักษาแผลเบาหวาน - Coggle Diagram
การดูแลรักษาแผลเบาหวาน
การประเมินแผล
-
แผลขาดเลือด
ตำแหน่งการเกิดแผลพบได้ทั้ง5 นิ้ว ,ส้นเท้า
-
-
-
-
การควบคุมการติดเชื้อ
เมื่อเกิดการติดเชื้อต้องรีบทำการตัดเนื้อตายออกให้เร็วที่สุด ร่วมกับการเพาะเชื้อ เพื่อประกอบการพิจารณา เลือกใช้ยาปฏิชีวนะที่เหมาะสม
ตัดเล็มเนื้อตายแล้วล้างทำความสะอาดด้วย NSS และเก็บตัวอย่างโดยการใช้ไม้พันสำลีป้ายบริเวณก้นแผลให้ทั่ว
การใช้ยาฆ่าเชื้อ หรือ antibiotic เฉพาะที่ใส่ลงในแผล ยอมรับกันว่าไม่มีผลทำลายเนื้อเยื่อที่เกิดใหม่ และมีส่วนผสมของ silver ช่วยกระตุ้นการหายของแผล
-
การเพิ่มการไหลเวียนเลือด
ผู้ป่วยเบาหวานที่มีการอุดตันของหลอดเลือดแดงในระดับเล็กน้อยถึงปานกลาง สามารถให้การรักษาด้วยวิธี conservative
ผู้ป่วยเบาหวานที่มีการอุดตันของหลอดเลือดแดงในระดับปานกลางถึงรุนแรง ต้องได้รับการประเมินอย่างละเอียด เพื่อแก้ไข โดยการตัดต่อเส้นเลือด
-
การส่งเสริมการหายของแผล
การทำแผล
1.การกำจัดเนื้อตาย
ทำทุกครั้งที่มีการเปิดแผลและพบว่ามีเนื้อตาย ต้องกำจัดให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ เพราะเนื้อตายจะเป็นอาหารของเชื้อแบคทีเรีย และเนื้อตายจะเป็นตัวชะลอให้เกิดการสร้างเนื้อเยื่อใหม่ๆขึ้น และมีผลกระทบต่อการหายของแผล
การตัดเนื้อตาย : เหมาะกับแผลที่ติดเชื้อรุนแรง โดยพยายามตัดหนังที่หนาด้าน และเนื้อเยื่อส่วนที่ตายแล้วที่คลุมรอบแผลออกให้หมด จนถึงชั้นเนื้อเยื่อที่ดี
การย่อยสลาย : ใช้วัสดุปิดแผลเพื่อรักษาพื้นที่ผิวของแผลให้ชุ่มชื้น ทำให้เนื้อตายเปื่อยยุ่ย ง่ายต่อการกำจัดออก ช่วยให้เอนไซม์ที่จำเป็นต่อการหายของแผลออกมาบริเวณแผลมากขึ้น
การใช้กลไล Mechanical debridement : การทำแผลแบบ wet to dry การฉีดล้างแผล การแช่เท้าในอ่างน้ำวน แต่วิธีพวกนี้จะไม่นิยม เนื่องจากอาจจะทำให้เนื้อเยื่อที่ดีบริเวณก้นแผลถูกทำลายและอาจเกิดการติดเชื้อได้ง่าย
-
- การทำความสะอาดแผลโดย NSS โดยแรงดีนที่ดี
ในการล้างแผลคืออยู่นะหว่าง 5-15 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว โดยใช้ไซริ้งขนาด 30ml ใส่เข็มฉีดยาเบอร์ 18หรือ 20
- การผิดแผล มีเป้าหมายคือเพื่อรักษาความชุ่มชื้นของแผล ซึ่งจะช่วยให้แผลหายเร็วขึ้น
-
-
-
-