Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กิจกรรมกรณีศึกษา ปัญหาสิ่งแวดล้อม, 596a1ee5-0593-489c-be23-9555d7aacc38,…
กิจกรรมกรณีศึกษา
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
มลพิษทางอากาศ
ภาคเหนืออ่วม!หมอกควัน
ข้ามแดน คพ.ส่งหนังสือชาติอาเซียนลดเผาป่า
ปัญหา : หมอกควันทางภาคเหนือ
สาเหตุ : เกิดจากการเผาป่าส่งผลให้เกิดกลุ่มควันจำนวนมากและลอยไปปกคลุมประเทศใกล้เคียง
แนวทางการแก้ไข : ไทยร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน รวมถึงให้คำแนะนำแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน โดยในประเทศไทยจะต้องลดจำนวนจุดความร้อนให้ได้อย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะการเผาวัชพืชซึ่งปรับเปลี่ยนโดยการนำวัชพืชไปใช้ประโยชน์แทนการเผา
CLIMATE CHANGE : ส่งผลให้เกิดภาวะน้ำขาดออกซิเจนในทะเลสาบเกือบ 400 แห่ง ในสหรัฐและยุโรป
แนวทางการแก้ไข :ลดการปล่อยน้ำหรือสารเคมีที่ไม่ได้รับการบำบัดจากชุมชนอุตสาหกรรมการเกษตร
ปัญหา : การที่มนุษย์ปล่อยน้ำหรือสารเคมีที่ไม่ได้รับการบำบัดจากชุมชน อุตสาหกรรม การเกษตร ที่เพิ่มมากขึ้นเนื่องจากเมื่อสารอินทรีย์ต่างๆถูกทิ้งลงไปในแหล่งน้ำซึ่งจุลินทรีย์เหล่านี้จะต้องให้ออกซิเจนละลายในน้ำดังนั้นถ้าออกซิเจนที่ละลายหมดไปก็จะมีสิ่งที่หลงเหลืออยู่คือก๊าซมีเทน ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟต์ ซึ่งเป็นพิษต่อสัตว์ในน้ำและยังยับยั้งการเจริญเติบโตของพืชน้ำที่ให้ออกซิเจน
สาเหตุ : ผลของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ภาวะโลกร้อนทำให้น้ำทะเลอุ่นขึ้นจึงเก็บออกซิเจนได้น้อยลง เมื่ออากาศร้อนขึ้นและยิ่งร้อนมากขึ้นไปอีกในฤดูร้อนทำให้น้ำทะเลมีอุณหภูมิ
สูงขึ้น ทำให้สิ่งมีชีวิตเหล่านั้นต้องการใช้ออกซิเจนมากยิ่งขึ้น
มลพิษทางขยะ
ซูปเปอร์มาร์เก็ตบางแห่งในเยอรมันขายเฉพาะอาหารใกล้หมดอายุและอาหารตกเกรด
แนวทางการแก้ไข : ผู้ผลิตควรแก้ไขวิธีการถนอมอาหารใหม่เพื่อที่จะได้เก็บอาหารได้นานยิ่งขึ้นและทางซูปเปอร์มาร์เก็ตเมื่อรู้ว่าอาหารจะหมดอายุก็ควรนำมาจัดโปรโมชั่นเพื่อทำให้ผู้ซื้ออาจจะสนใจ
ปัญหา : มีขยะเพิ่มมากขึ้นและในขยะเหล่านี้ปล่อยก๊าซมีเทนออกมามาก
สาเหตุ : มีอาหารหมดอายุเพราะผลิตภัณฑ์เก็บไว้ได้ไม่นานและจำนวนขยะจากร้านต่างๆเพิ่มมากขึ้น
การปนเปื้อนไมโครพลาสติกในอาหาร
ปัญหา : ประเทศไทยเป็นประเทศที่ปล่อยขยะลงสู่ทะเลมากทำให้สัตว์ในทะเลกินอาหารที่ปนเปื้อนของไมโครพลาสติกเข้าไป
สาเหตุ : ขยะที่ถูกปล่อยมักมาจากแหล่งท่องเที่ยว ทำการประมง รวมไปถึงจากครัวเรือนและอุตสาหกกรมอีกทั้งยังเป็นความมักง่ายของมนุษย์
แนวทางการแก้ไข : ให้ความรู้คนในชุมนุมเรื่องการทิ้งขยะและการคัดแยกขยะรวมถึงให้ความรู้ด้านผลกระทบหากเรานำสัตว์ทะเลที่กินอาหารปนเปื้อนไมโครพลาสติกเข้าไปมารับประทาน :
มลพิษทางดิน
เกษตรอินทรีย์และผลจากสารกำจัดศัตรูพืช
ปัญหา : มีผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งเเวดล้อม
สาเหตุ : เกษตรกรนิยมใช้สารเคมี
กำจักศัตรูพืช
แนวทางการแก้ไข : ชักชวนให้ผู้คนทั่วโลกหันมาให้ความสนใจในการปลูกผักออร์เเกนิกและบริโภคผักที่มีความปลอดภัยจากยาฆ่าแมลง
มลพิษทางน้ำ
พิษสารหนูที่ร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช
ปัญหา : พบผู้ป่วยเป็นโรคไข้ดำและ
โรคมะเร็งผิวหนังจำนวนมาก
สาเหตุ : มาจากการทำเหมืองเเร่ดีบุกทำให้มีการปนเปื้อนของสารหนูในน้ำ
แนวทางการแก้ไข : การบำบัดสารหนูในสิ่งแวดล้อม
การบำบัดน้ำดื่มและห้ามโรงงานถ่ายเทน้ำออกนอกเขต
ไฟไหม้เรือสินค้าชายฝั่งศรีลังกาทำให้ขยะพลาสติกเกลื่อนทะเล
ปัญหา : เรือบรรทุกสินค้าเกิดเพลิงไหม้ทำให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศทางทะเล
สาเหตุ : เรือได้บรรททุกสารเคมีเป็นพิษโดยตู้สินค้าร่วงหล่นจากเรือส่งผลให้เม็ดพลาสติกขนาดเล็กจำนวนมหาศาลลอยปกคลุมไปทั่วผืนน้ำ
แนวทางการแก้ไข : เมื่อสารพิษที่ลอยมาใกล้ฝั่งเจ้าหน้าที่ก็ต้องโกยทรายใกล้ชายฝั่งเพื่อนำไปล้างสารพิษและเก็บกวาดขยะพลาสติก
น้ำทะเลบางแสนเปลี่ยนสี
แนวทางการแก้ไข : เเจ้งเจ้าหน้าที่
ที่มีส่วนเกี่ยวข้องให้เข้ามาแก้ไขปัญหา
ปัญหา : น้ำทะเลมีกลิ่นค่อนข้างแรง ชายหาดมีความสกปรก และทำให้มีปัญหาต่อสุขภาพและจิตใจ อีกทั้งยังทำให้ทัศนียภาพไม่น่ารื่นรมณ์
สาเหตุ : เกิดจากสาหร่ายเซลล์เดียวหรือเเพลงก์ตอนพืชเพิ่มจำนวนมากขึ้นจนทำให้สีของน้ำทะเลเปลี่ยนไปจากสีปกติซึ่งในครั้งนี้เปลี่ยนไปเป็นสีเขียวเข้ม
การสูญเสียความหลากหลายในระบบนิเวศ
ซูปเปอร์มาร์เก็ตเลิกขายสัตว์น้ำที่ยังไม่โตเต็มวัยเพราะอาหารทะเลกำลังจะหมดแล้ว
ปัญหา : สัตว์น้ำกำลังจะสูญพันธ์ุ
สาเหตุ : การใช้วิธีการจับปลาในทางพาณิชย์เป็นแบบทำลายล้างและห้างขนาดใหญ่ยังนิยมจำหน่ายปลาขนาดเล็กซึ่งจะส่งผลกระทบต่อการทำประมงและระบบนิเวศในอนาตค
แนวทางการแก้ไข : รณรงค์ให้ผู้บริโภคตระหนักในการเลือกบริโภคอาหารทะเลโดยการกินปลาใหญ่และไม่กินปลาเล็กเพื่อให้ทะเลกลับมาสมบูรณ์ยิ่งขึ้นและสร้างศูนย์อนุบาลสัตว์น้ำเพื่อที่จะได้ขยายพันธ์ุ
ประชากรหมีขั้วโลกส่วนใหญ่อาจไม่รอดหลัง พ.ศ.2643
ปัญหา : จำนวนประชากรหมีขั้วโลกจะมีแนวโน้มว่าจะลดลงอย่างมากในบางภูมิภาคของแผ่นน้ำแข็งในมหาสมุทรอาร์กติก
สาเหตุ : การปล่อยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่ทำให้น้ำเข็งขั้วโลกเกิดการละลาย
แนวทางการแก้ไข : ลดการปล่อยเเก๊สเรือนกระจกภายในทศวรรษข้างหน้าได้ในระดับหนึ่งซึ่งจะทำให้หมีขั้วโลกกลุ่มเล็กๆก็อาจยังมีชีวิตรอดอยู่บางพื้นที่ของอาร์กติก