Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 10: ภาวะผู้นํากับการสื่อสาร - Coggle Diagram
หน่วยที่ 10: ภาวะผู้นํากับการสื่อสาร
ความหมายของการสื่อสาร
กระบวนการถ่ายทอดข่าวสาร ข้อมูล ความรู้
ประสบการณ์ ความรู้สึก ความคิดเห็น ความต้องการ จากผู้ส่งสารไปยังผู้รับสาร โดยผ่านสื่อต่างๆ ที่อาจเป็นการ พูด การเขียน การแสดง หรือการจัดกิจกรรมต่างๆ ซึ่งใช้กระบวนการสื่อสารที่แตกต่างกันไปตามความเหมาะสม หรือความจําเป็นของคู่สื่อสาร โดยมีวัตถุประสงค์ให้เกิดการรับรู้ร่วมกันและมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อกัน
องค์ประกอบของการสื่อสาร
ผู้ส่งสาร หรือผู้เข้ารหัส (sender / encoder)
บุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่เป็นผู้ริเริ่มหรือเริ่มต้นส่งสารไปให้อีกบุคคลหนึ่งจะโดยตั้งใจ หรือไม่ก็ตาม หรือเป็นผู้ทําหน้าที่ส่งสารผ่านช่องทางหนึ่งไปยังผู้รับสาร
ผู้รับสาร หรือ ผู้ถอดรหัส (receiver / decoder)
ผู้ท่ีรับสารจากบุคคลหนึ่งหรือกลุ่มบุคคลหนึ่ง เมื่อได้รับสารผู้รับสารจะเกิดการตีความและ
การตอบสนองจะโดยตั้งใจหรือไม่ตั้งใจก็ตาม
ผู้ถอดรหัส (decoder) คือ ผู้ที่ถอดความหมายของสัญญาณหรือสัญลักษณ์ที่ผู้เข้ารหัสส่ง มา
สาร (message)
สิ่งที่ผู้ส่งสารไปให้ผู้รับสารในรูปของรหัสคําว่า “รหัส” หมายถึง สัญญาณ (signal) หรือสัญลักษณ์ (symbol) หรือกลุ่มของสัญลักษณ์ที่ถูกสร้างขึ้นในลักษณะที่มีความหมายต่อคน
รหัสของสารที่ใช้คํา (Verbal Message Codes) ได้แก่ ภาษาอันเป็นระบบของสัญลักษณ์ และหรือระบบของสัญญาณที่มนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือในการติดต่อซึ่งกันและกัน
รหัสของสารที่ไม่ใช้คํา (Nonverbal Message Codes) ได้แก่ ระบบสัญลักษณ์สัญญาณ หรือเครื่องหมายใดๆก็ตามที่ไม่เกี่ยวข้องกับการใช้ถ้อยคํา
ช่องทางการสื่อสาร (channel)
ตัวกลางที่ช่วยในการนําส่งสารจากผู้ส่งสารไปยังผู้รับสารช่องทางเปรียบเหมอืน ทางหรือพาหะระหว่างผู้ร่วมสื่อสาร
7C การสื่อสารที่ดี
ชัดเจน การสื่อสารโดยการเขียนหรือพูด ต้องมีความชัดเจนในเป้าหมายหรือข้อมูล เมื่อสื่อสารออกไปแล้วผู้รับสารต้องมีความเข้าใจที่ชัดเจนเชน่เดียวกับผู้ส่งสาร
Conciseness กระชับ การสื่อสารที่ดีควรพูดหรือเขียนให้มีความสั้นกระชับ เน้นเนื้อหาและข้อความท่ี สําคัญเป็นหลัก หลีกเลี่ยงการใช้คําที่มากเกินไปโดยไม่มีความจําเป็น
Concrete ตรงประเด็น การสื่อสาร แบบชัดเจนและเป็นรูปธรรม ด้วยข้อความประกอบด้วย ข้อเท็จจริง และตัวเลขที่ชัดเจนตรงประเด็น
4.Correctถูกต้อง ไมผิดพลาดหรือก่อความเข้าใจผิดในการสื่อสาร
มีข้อผิดพลาดทางด้านการใช้ภาษาหรือไม่
ระดับภาษาเหมาะสมกับระดับการศึกษา
สะกด คําต่างๆ ถูกต้องหรือไม่
มีความแม่นยําและความถูกต้อง
Consideration - พินิจพิเคราะห์/เห็นอกเห็นใจผู้อื่น พยายามทําความเข้าใจผู้รับสาร ความต้องการ อารมณ์ และ ปัญหาของเขา เข้าไปนั่งในใจของผู้รับสาร
6.Completeครบถ้วนการสื่อสารที่ครบถ้วนสมบูรณ์ผู้รับข้อมูลต้องได้รับทุกส่ิงที่ผู้สื่อสารต้องการ การสื่อสารออกไป
7.Courteousสุภาพการสื่อารที่สุภาพจะให้ความรู้สึกเป็นมิตรเปิดเผยและจริงใจไม่ควรมีท่วงที เสียดสีก้าวร้าวการสสื่อสารที่สุภาพจะมอบความรู้สึกที่ดีให้ผู้ที่รับข้อความและเป็นสิ่งที่ทุกคนก็คาดหวังว่าจะได้สิ่งนั้น
การสื่อด้วยการพูด (Speech)
ประเภทของการพูด
แบบที่ 1 แบ่งตามวิธีพูดมี 4 ประเภท คือ
1) การพูดโดยฉับพลันหรือกระทันหัน (impromptu speech) ได้แก่ การพูดที่ผู้พูดไม่รู้ตัวมาก่อน จะต้องพูด
2) การพูดโดยการเตรียมการมาล่วงหน้า (extemporaneous speech) การพูดแบบนี้เป็นการพูด เป็น วิธีการพูดที่ถือว่าดีที่สุดในการพูดแบบต่างๆ เพราะเป็นการพูดอย่างแท้จริง มีความเป็นธรรมชาติ
3) การพูดโดยอาศัยอ่านจากต้นฉบับ (manuscripts speech) การพูดประเภทนี้เป็นการพูดตาม ต้นฉบับที่เขียนขึ้นซึ่งเป็นการเตรียมไว้ล่วงหน้าเป็นอย่างดี
4) การพูดโดยวิธีท่องจํา (memorized speech) การพูดลักษณะนี้เป็นการพูด ที่ผู้พูดจะต้องเตรียมตัว ท่องจําเนื้อหาอย่างละเอียดจากเอกสาร ตํารา หนังสือต่างๆ อย่างแม่นยํา
แบบที่ 2 แบ่งตามจํานวนผู้ฟัง มี 2 ประเภท คือ
1) การพูดรายบุคคล เป็นการพูดตัวต่อตัว ได้แก่ การพูดที่ใช้อยู่ในชีวิตประจําวัน เช่น การสนทนา การ สัมภาษณ์ การเล่าเรื่อง การแนะนําตัว เป็นต้น
2) การพูดในที่ชุมนุมชน เป็นการพูดที่มีผู้ฟังเป็นจํานวนมาก เป็นการพูดที่มีแบบแผนต้องมีการเตรียมตัว และฝึกฝนให้เกิดความชํานาญ การพูดประเภทนี้ได้แก่ การบรรยาย การอภิปราย การปาฐกถา การแสดงสุนทรพจน์ เป็นต้น
ข้อดีของการสื่อสารด้วยคําพูด
1) สร้างความเข้าใจให้กับผู้ฟังได้อย่างรวดเร็ว
2) เป็นเครื่องมือสร้างมนุษย์สัมพันธ์กับบุคคลได้ผลที่สุด
3) สามารถพิสูจน์ได้ว่าคําพูดที่พูดไปได้ผลหรือไม่ทันที
4) สามารถดัดแปลงแก้ไขคําพูดหรือยืดหยุ่นให้เหมาะสมกับโอกาส เวลา หรือเหตุการณ์
ข้อจํากัดของการสื่อสารด้วยคําพูด
1) สถานที่ไม่เอื้ออํานวย ต่อการสื่อสารด้วยคําพูด
2)เรื่องสื่อสารมีความซับซ้อนหรือเป็นเรื่องนามธรรมที่เข้าใจยาก
3) สารจากคําพูด เป็นสารที่ไม่คงทน
4) มีโอกาสผิดพลาดในแง่ข้อเท็จจริง หรือผิดจากเจตนาที่แท้จริงของผู้พูดได้ง่าย
ลักษณะผู้พูดที่ดี
มีความคิด มีข้อคิดเห็น มีความรู้ที่จะเป็นประโยชน์แก่ผู้ฟัง
2.มีจุดประสงค์ที่แน่นอนและรู้จุดประสงค์นั้นโดยแจ่มแจ้ง
มีเค้าโครงเรื่องใหส้ามารถพูดได้ตรงตามเป้าหมายที่ต้องการไม่ออกนอกประเด็น
รู้จักการใช้ภาษาที่ดี เลือกใช้ภาษาที่ดี และเหมาะสม
มีบุคลิกภาพที่ดีบุคลิกภาพของผู้พูดแสดงออกทั้งในด้านกิริยาท่าทางและน้ําเสียง
มีความสังเกตและมีไหวพริบดี ต้องหัดสังเกตปฏิกิริยา
เป็นนักฟังที่ดีศึกษาหาความรู้อยู้เสมอยอมรับคําวิจารณ์เป็นตัวของตัวเองและมีความสุข
การพัฒนาบุคลิกภาพของผู้พูด
สร้างแรงจูงใจในทางที่ดี
สร้างภูมิปัญญา
สร้างความเชื่อมั่นในตนเอง
สร้างความเป็นกลางในใจ
การเตรียมการพูด
เลือกเรื่องควรเลือกให้เหมาะสมแก่ผู้ฟัง
กําหนดขอบเขต
กําหนดจุดประสงค์ให้ชัดเจนจุดประสงค์การพูด
การวางเค้าโครงเรื่องและหาข้อมูล
เรียบเรียงเรื่องราวกําหนดเป็น3ส่วนคือ บทนำ เนื้อหา สรุป
ฝึกซ้อม
ทบทวนประเมินผล
การใช้ภาษาในการพูด
เลือกใช้คําง่ายๆ
การใช้สํานวนโวหาร
เลือกระดับคําพูดให้เหมาะสม
ระวะงคำสแลง คำหยาบ
ระดับของภาษา
ภาษาปากมักใช้ในโอกาสส่วนตัวกับบุคคลที่คุ้นเคย
ภาษากึ่งแบบแผนใช้กับภาษาพูดหรือภาษาเขียนที่ไม่เป็นพิธีการ
ภาษาแบบแผนใช้กับภาษาเขียนมักใช้ในโอกาสที่เป็นพิธีการ
การใช้คํา และการใช้ประโยคในการพูด
การออกเสียงที่ถูกต้อง ร. ควบกล้ำ อื่นๆ
หลีกเลี่ยงการใช้คําสแลงคําภาษาถิ่นคําไม่สุภาพและคําฟุ่มเฟือย
ใช้คําต่างประเทศเฉพาะกรณีเป็นศัพท์เฉพาะทางวิชาการ
ใช้คําให้ตรงความหมาย